การปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี
คำสำคัญ:
การปฏิบัติงาน, พระสอนศีลธรรมบทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์ คือ 1)เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรม ในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรม ในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรีโดยจาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและ 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบผสานวิธี โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้สารวจกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จานวน 322 คน จากจานวนประชากรทั้งหมด 975 และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth interview) กับผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาพร้อมนาเสนอเป็นแบบพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี มีความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.00) ทุกด้าน ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักเรียนต่อการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี โดยจาแนกตามสถานภาพส่วนบุคคลพบว่า นักเรียนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา มีความคิดเห็นโดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี พบว่า พระสอนศีลธรรมขาดทักษะในการถ่ายทอดความและไม่มีเทคนิคการสอนแบบหลากหลาย ไม่ชานาญการใช้สื่อการสอนที่ทันสมัยในการประกอบการเรียนการสอน ขาดความชานาญในการผลิตสื่อที่ทันสมัยโดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีที่สอดคล้องขาดความคล่องในการใช้สื่อประกอบการเรียนเรียน และไม่มีวิธีกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียน และเน้นบรรยายมาก จนนักเรียนไม่มีส่วนในกิจกรรมเลยและเนื้อหาในการเรียนมีมากไม่สอดคล้องกับเวลาที่ใช้ทาการเรียนการสอน สภาพห้องและสภาพแวดล้อมมีบรรยากาศไม่เหมาะต่อการศึกษา
References
พระครูสุนทรเจติยาภิวัฒน์ (ชัยวัฒน์ สุทฺธจิตฺโต). (2554). “ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเผยแผ่ธรรมศึกษาในโรงเรียนอำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” วิทยานิพนธ์พุทธศาสนามหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระณปวร โทวาท. “การพัฒนาต้นแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาประจำจังหวัดในประเทศไทย”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับพิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2559.
พระครูอุทัยกิจจารักษ์. “หลักศีล 5 : การประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของบุคคลในสังคม”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับพิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2559.
พระปิยะ ปิยธมฺโม (เมฆแสน).ล(2553). “ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของครูประจาการและครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอเมืองแพร่”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมานิตย์ โชติธมฺโม (อรรคชาติ). (2553). “การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดศรีสะเกษ”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสถิต มหาลาโภ (ศรีเมือง). (2553). “การสอนวิชาพระพุทธศาสนาของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนวิถีพุทธ : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านโนนม่วง ตาบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระอธิการฉลอง ปภสฺสโร (ชมสุวรรณ์). (2555). “ความคาดหวังของครูและนักเรียนต่อบทบาทพระสอนศีลธรรมในกลุ่มโรงเรียนเมืองทองสัมพันธ์ อาเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2550). คู่มือการดำเนินงานโครงการ พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนปีงบประมาณ 2550. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น