การสื่อสารเพื่อการรณรงค์กิจกรรมทางสังคมในชุมชน

ผู้แต่ง

  • เมธาวี จำเนียร

คำสำคัญ:

การสื่อสารเพื่อการรณรงค์; กิจกรรมทางสังคม; ชุมชน

บทคัดย่อ

การสื่อสารหรือการประชาสัมพันธ์จากผู้สื่อสารหรือผู้ส่งสารไปยังกลุ่มเป้าหมายนั้น มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน เช่น ให้ความรู้ แจ้งเพื่อทราบ เพื่อสร้างความบันเทิงใจ ฯลฯ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ต้องการให้ผู้รับสารมีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อเรื่องที่ต้องการสื่อสาร อย่างไรก็ตาม ยังมีการสื่อสารเพื่อการรณรงค์ เป็นการสื่อสารที่มีวัตถุประสงค์โน้มน้าวใจให้กลุ่มเป้าหมายมีปฏิกิริยาตอบสนองกลับ ทั้งทางด้านความรู้ ความคิด ความเชื่อ ตลอดจนพฤติกรรม ซึ่งการสื่อสารเพื่อการรณรงค์นั้น มักจะนามาใช้กับกลุ่มคนจานวนมาก เพื่อประโยชน์ในการสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย หรือยกระดับความเป็นอยู่ของกลุ่มคน โดยเฉพาะคนในชุมชน ซึ่งต้องอาศัยการสื่อสารเพื่อการรณรงค์ที่ผ่านการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย สภาพแวดล้อม การวางแผนอย่างมีกลยุทธ์ การเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรวัตถุและบุคคล การดาเนินการตามแผนที่ได้วางไว้ตลอดจนมีการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ จึงจะทาให้การสื่อสารเพื่อการรณรงค์ในชุมชนแต่ละครั้งประสบความสาเร็จในที่สุด

References

เกศินี จุฑาวิจิตร. (2548). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครปฐม : เพชรเกษม การพิมพ์.
ดวงพร คานูณวัฒน์ และคณะ. บทสังเคราะห์รายงานวิจัยการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม. กรุงเทพฯ : หจก.สหพัฒนไพศาล. ม.ป.ป..
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2551). การสื่อสารประเด็นสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2552). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรตี สะสมบัติ และปาริชาต สถาปิตานนท์. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2550) “กระบวนการสื่อสารใน การรณรงค์เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยน้านมมารดาของกลุ่มนมแม่”.วารสารนิเทศศาสตร์. 25(2), : 44.

เผยแพร่แล้ว

2020-04-30

How to Cite

จำเนียร เ. . (2020). การสื่อสารเพื่อการรณรงค์กิจกรรมทางสังคมในชุมชน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-05), 383–392. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/242429