รูปแบบที่เหมาะสมในการปฏิบัติภารกิจตามอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานครที่ บัญญัติในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2528
คำสำคัญ:
รูปแบบที่เหมาะสมการปฏิบัติภารกิจบทคัดย่อ
การศึกษารูปแบบกรุงเทพมหานครที่เหมาะสมในการปฏิบัติภารกิจ ตามอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานครที่บัญญัติในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ปรากฏว่ากรุงเทพมหานครได้ขยายตัวของเมือง เนื่องจากขนาดของประชากร และการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างทางเศรษฐกิจในพื้นที่ชุมชน ทาให้มีการใช้ที่ดินแบบผสมในลักษณะแนวยืนในเขตแทน กลางเมือง และการใช้ที่ดินขยายตัวในลักษณะแนวนอนจากชานเมืองไปสู่เขตรองชานเมืองการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภูมิหลัง ความเป็นมา และความสำคัญของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศไทย (2) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการกระจายอำนาจการปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ และการจัดทาการบริการสาธารณะ (3) วิเคราะห์เปรียบเทียบองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในประเทศไทยกับต่างประเทศจากผลการวิจัยสรุปได้ว่า กรุงเทพมหานครมีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครอง และมีฐานะเป็นนิติบุคคลทางกฎหมายมหาชน ในการจัดทาบริการสาธารณะแทนรัฐบาลกลาง ยังอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของราชการส่วนกลาง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 จึงยังไม่มีอิสระที่แท้จริง ในส่วนรูปแบบที่เหมาะสมนั้นผู้วิจัยเสนอให้มีทางเลือก คือ แบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น 2 เขต คือ เขตกรุงเทพมหานคร และ เขตมหานครธนบุรี
References
โกวิทย์ พวงงาม.(2555). การปกครองท้องถิ่นไทย: หลักการและมิติใหม่ในอนาคต, พิมพ์ครั้งที่ 8 ,กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2555.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.(2539). โครงการศึกษาเพื่อกำหนดกรอบการวางแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร เสนอสำนักนโยบายและแผน กรุงเทพมหานคร,กรุงเทพฯ : ม.ป.ท..
ดารารัตน์ พลเศรษฐเลิศ.(2546). ความพร้อมของกรุงเทพมหานครต่อการรับโอนภารกิจในกระบวนการกระจายอานาจ, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์).
เทพศักดิ์ บุญรัตนพันธ์. (2555). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างประสิทธิผลของการนานโยบายการให้บริการแก่ประชาชนไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร”.วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เทอดเกียรติ พัฒนนิติศักดิ์. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการบริการสาธารณะของเทศบาลตาบลตาพระยา อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์. บุรีรัมย์ :มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.
นิลุบล เพ็งพานิช (2539). “ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและกระบวนการให้บริการของสำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร”, วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2552). หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับการบริการสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 3กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
เนาวรัตน์ พลายน้อย. (2550). สวัสดิการสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2537). “แนวโน้มการกระจายอานาจของรัฐ” น. 5-8 เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง การกระจายอานาจกับพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยในอนาคต. 3 สิงหาคม 2537.
ประหยัด หงส์ทองคา.(ม.ป.ป.) การพัฒนาการเมืองโดยกระบวนการปกครองท้องถิ่น ,กรุงเทพมหานคร: พาพาส.
ประยูร กาญจนดุล (2551). คาบรรยายกฎหมายปกครอง.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรชัย รัศมีแพทย์. (2530). การปกครองตนเองนครหลวงกรุงเทพมหานคร: ศึกษากรณีนิติสัมพันธ์กับองค์การปกครองส่วนกลาง. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรชัย เทพปัญญา, นิยม รัฐอมฤต, ชาญชัย ลวิตรังศิมา และ อุษา ใบหยก. (2527). การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: หจก. ป.สัมพันธ์พานิชย์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ.(2541). ผู้ว่าราชการจังหวัดไทย วิเคราะห์เปรียบเทียบกับผู้ว่าราชการจังหวัดของสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น ,กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภชัย ยาวะประภาษ (2556). นโยบายสาธารณะ. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.พิมพ์ ครั้งที่ 6.
สถาบันพระปกเกล้า. (2557). การให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน http:kpi.ac.th/ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2557.
Campbell, B. N. (1972). Organic Chemistry Expriments-microscale and Semimicroscale. California: Wadsworth.
Dye, T. R. (1984). Understanding public Policy (5th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
F.F. Ridley and J. Blondel.(1994). Public Administration in France (London: Routledag & Kegan Paul, 1969), quoted in Alan Norton, International Handbook of Local and Regional Government: A Comparative Analysis of Advanced Democracies ,Birmingham, England: Edward Elgar.
Hagen, E. P. (1999). Measurement and Evaluation in Psychology and Education. New York: John Wiley and Sons.
Henrry W. Ehrmaance’.(1984). “Politics in France”, in Comparative Politics Today: A World View, ed. Gabriel A. Almond and Bingham Powell, Jr., 3d ed. (Boston : Little Brown and Company.
Millet, John D. Management in the public Service. New York :McGraw-Hall.
Sharma, R.C. (1975). Population Trends Resources and Environment Hand book on Poplation Education. New Delhi: Tala Mcgraw-Hill.
Stockdale, E. J. (1993). Management and Supervision of Police Interviews. London: Policresearch Group.
UNESCO. (1978). Quality of Life An Orientation to Population Education. New York:UNESCO.
Verma, B. M. (1986). A Dictionary of Biology. New Delhi : Academic.
Wallace, S.A. (1974). Identifying Quality of Life Indicators for Use in Family Planning Programs in Developing Countries. New Jersey: Prentice–Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น