รูปแบบการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • กิตติชัย เจริญชัย

คำสำคัญ:

การจัดการโลจิสติกส์ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวทางการจัดการโลจิสติกส์ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการโลจิสติกส์ และ 3) เพื่อยืนยันรูปแบบการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี

ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการณ์ปัจจุบันการจัดการโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย มีความสามารถในการจัดการโลจิสติกส์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า 2) รูปแบบการจัดการโลจิสติกส์มีผลต่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย และ 3) ผู้ประกอบการมีการดาเนินงานการจัดการโลจิสติกส์ โดยมีการให้บริการลูกค้าหลังการทาธุรกรรม จะเป็นการรักษาลูกค้า และทาให้ลูกค้าเกิดการจงรักภักดีต่อ
สินค้า

References

คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2549). โลจิสติกส์เพื่อการผลิตและการจัดการดาเนินงาน (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2547). การจัดการและการตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2546). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พรเทพ ผดุงถิ่น. (2552). การวิเคราะห์แนวทางพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานด้านโลจิสติกส์.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชราภรณ์ เนียมมณี. (2556). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงของโซ่อุปทาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์. ทุนสานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ:สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.
พิทยพร พิทยาวัฒน์. (2551). การศึกษาปัจจัยเสี่ยงเพื่อกาหนดยุทธศาสตร์ ในการจัดซื้อ กรณีศึกษา: อุตสาหกรรมยานยนต์. ทุนสานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุธิร์ พนมยงค์ . (2547). การจัดการโลจิสติกส์ในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด (มหาชน).
สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2554). แผนการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรมเพื่อรองรับการเปิดเสรี AEC 2558. กระทรวง
อุตสาหกรรม.สุเนตร มูลทา. (มปป.). เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การขนถ่ายวัสดุ. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน.
อดิเรก ทิฆัมพรเพริศ. (2551). โปรแกรมวางแผนการบรรจุสินค้า และหยิบสินค้าแบบทันเวลาพอดีกรณีศึกษา ศูนย์โลจิสติกส์ เพื่อการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2552). การจัดซื้อ (ฉบับมาตรฐาน). กรุงเทพฯ : วิรัตน์ เอ็ดดูเคชั่น.
อำนวย ปาอ้าย. (2552). การจัดซื้อ. ฉะเชิงเทรา : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
อุษณีย์ วงค์กองแก้ว. (2554). การจัดการสินค้าคงคลังของร้านจำหน่ายอะไหล่รถยนต์ขนาดเล็ก.ทุนสานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เอฟฟินิตี้ จำกัด , บริษัท . (2555) . ศึกษาประเมินผลการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ พ.ศ. 2550-2554. สานักงานคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
M. St-Vincent, D.Denis, D.Imbeau and M. Laberge. (2005). Work factors affecting manual materials handling in a warehouse superstore. International Journal of Industrial Ergonomics. Vol. 35, Iss: 1, pp.33–46.
Shao-I Chiu, Ching-Chan Cheng, Tieh-Min Yen and Hsiu-Yuan Hu. (2011). Preliminary research on customer satisfaction models in Taiwan: A case study from the automobile industry. Expert Systems with Applications. Vol.38. Iss: 8, pp.9780–9787.
Yamane,T. (1973). Statistics : An introductory analysis . New York : Harper & Row .

เผยแพร่แล้ว

2020-04-11

How to Cite

เจริญชัย ก. . . (2020). รูปแบบการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-04), 571–586. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/241627