การพัฒนำชุมชนตามแนววิถีพุทธของหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรี
คำสำคัญ:
ชุมชนวิถีพุทธ, การพัฒนาชุมชนบทคัดย่อ
การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีและหลักพุทธธรรมที่เหมาะสมกับ
การพัฒนาชุมชน 2) เพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาชุมชนของหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรี และ 3)
เพื่อนาเสนอแนวทางการพัฒนาชุมชนตามแนววิถีพุทธของหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรี
ผลการวิจัยพบว่า
1. ทฤษฎีและหลักพุทธธรรม ที่เหมาะสมกับการพัฒนาชุมชน จากการศึกษา พบว่า
ทฤษฎีที่ใช้ในการพัฒนาชุมชนของหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรี ใช้การพึ่งตนเองของชุมชน
:TERMS มี 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านเทคโนโลยี 2) ด้านเศรษฐกิจ 3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
4) ด้านจิตใจ และ 5) ด้านสังคมและวัฒนธรรม สาหรับหลักพุทธธรรมที่ใช้ในการพัฒนาชุมชน คือ
หลักปาริสุทธิศีล ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน ความรอบคอบ ความมี
คุณธรรม และ ความพอประมาณ
2.วิธีการพัฒนาชุมชนของหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรี พบว่า มีวิธีการพึ่งพาตนเอง
5 ด้าน ประกอบด้วย 1) แนวทางการพึ่งตนเองด้านเทคโนโลยีคือ ใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดย
อาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นหลัก 2) แนวทางการพึ่งตนเองด้านเศรษฐกิจคือใช้จ่ายเท่าที่จาเป็น และ
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) แนวทางการพึ่งตนเองด้านทรัพยากรธรรมชาติ คือ สร้าง
ข้อตกลงในการใช้และอาศัยการแบ่งปันทรัพยากรร่วมกัน 4) แนวทางการพึ่งตนเองด้านจิตใจคือ
ยึดถือคาสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาและยอมรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้น และ 5) แนว
ทางการพึ่งตนเองด้านสังคมและวัฒนธรรมคือการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนอย่างสม่าเสมอและ
ปฏิบัติตามจารีตประเพณีอย่างเคร่งครัด
3.แนวทางการพัฒนาชุมชนตามแนววิถีพุทธของหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดลพบุรีเป็น
การบูรณาการระหว่างหลักการพึ่งพาตนเองกับหลักปาริสุทธิศีล ซึ่งเป็นการดาเนินงานในบริบทของ
ชุมชนวิถีพุทธ มีแนวทางที่สาคัญ 4 ประการได้แก่ 1) กระบวนการผลิต 2) กระบวนการบริโภค 3)
กระบวนการซื้อขาย และ 4) กระบวนการกระจายผลผลิต แนวทางพัฒนาดังกล่าวนั้นมีปัจจัยสาคัญ4 ประการได้แก่ 1) ผู้นาของชุมชน 2) การมีส่วนร่วมของชุมชน 3) เปูาหมายของชุมชน และ 4)
การบริหารจัดการของชุมชน
References
กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2546). หลักการพัฒนาชุมชนและหลักการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
ไทยอนุเคราะห์.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2547). ทฤษฎีและกลยุทธ์การพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สนธยา พลศรี. (2533). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
อคิน รพีพัฒน์. (2547). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคม และวัฒนธรรม
ไทย.กรุงเทพมหานคร : ศักดิ์โสภาการพิมพ์.
เหมวรรณ เหมะนัค. (2556). การพึ่งตนเองเพื่อการดารงชีพที่ยั่งยืนของบ้านนาห้วยเคน อาเภอตาล
สุม จังหวัดอุบลราชธานี. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
พระครูวิจิตรธรรมานุรักษ์. (2557). “การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมสาหรับการพัฒนาชุมชนของ
พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 2”.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต.
สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.พระมหาบุญเกิด กตเวที. (2558). “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบทตามแนววิถี
ชุมชนเชิงพุทธในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนใต้”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฏี
บัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหายุทธนา นรเชฏฺโ . (2554). “หลักการพึ่งตนเองเชิงพุทธบูรณาการในสังคมไทย”.
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา : มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วราภูมิ สุรโสภา. (2558). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนขององค์การส่วนปกครองท้องถิ่นตามหลักพุทธ
ธรรม. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประสาสนศาตร์. บัณฑิต
วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Erwin. (1976). Participation Management : Concept Theory and Implementation.
Atlanta : Georgia State University.
John M. Cohen and Norman T. Uphoff Cohen. (1981). Rural Development
Participation : Concept and Measures for Project Design
Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center
for International Studies. .Cornell University.
James H. Copp. (1972). Rural Sociology and Rural Development. Rural Sociology.
Vol.37 No.3. September.
J.E. Kocher. (1973). Rural Development. Income Distribution. and Fertility Decline.
New York : The Population Council.
Oakley P. (1984). Approaches To Participation In Rural Development. Geneva :
Intonation Office.
H. Mintzberg and J.B. Quinn. (1996). The Strategy Process. .New Jersey : Prentice
Hall International.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น