แนวทางการสร้างผลประกอบการที่ดีด้วยนวัตกรรมบริการของธุรกิจรีสอร์ทใน ประเทศไทย
คำสำคัญ:
ผลประกอบการ, นวัตกรรมบริการ, รีสอร์ท, ประเทศไทยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ประเภทนวัตกรรมบริการที่สาคัญของธุรกิจรีสอร์ทในประเทศไทย 2. ขั้นตอนในการปฏิบัติด้านนวัตกรรมบริการของธุรกิจรีสอร์ทในประเทศไทย
3. ประโยชน์ที่รีสอร์ทในประเทศไทยได้รับจากการมีนวัตกรรมบริการ โดยผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ด้วยแบบสัมภาษณ์ แบบกึ่งโครงสร้างกับผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ซึ่งเลือกแบบ
เจาะจง 3 กลุ่ม คือ 1) ตัวแทนผู้บริหารรีสอร์ทในประเทศไทย จานวน 12 คน 2) นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านนวัตกรรม จานวน 7 คน 3) ตัวแทนภาครัฐ จานวน 5 คน รวมผู้ให้ข้อมูลสาคัญ
ทั้งหมด 24 คนผลการวิจัย พบว่า
1. ประเภทของนวัตกรรมบริการที่สาคัญของธุรกิจรีสอร์ทในประเทศไทย คือ นวัตกรรมบริการด้านความปลอดภัย นวัตกรรมบริการด้านความทันสมัยของเทคโนโลยี และนวัตกรรมบริการ
ด้านความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ขั้นตอนในการปฏิบัติด้านนวัตกรรมบริการของธุรกิจรีสอร์ทในประเทศไทย มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมินผลและปรับปรุง
3. ประโยชน์ที่รีสอร์ทในประเทศไทยได้รับจากการมีนวัตกรรมบริการ คือ ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริการลูกค้า ช่วยสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า ช่วยเพิ่มส่วนแบ่งตลาด
ช่วยให้ยอดขายและกาไรเพิ่มขึ้น
References
พาณิชย์.
ฉงจิ่ง หลี่. (2556).“คุณภาพการบริการของบริษัทนาเที่ยวประเทศจีนที่มีผลตอความความไว้วางใจ
ในบริษัทนาเที่ยวและ ความตั้งใจในการใช้บริการซ้าของนักท่องเที่ยวชาวไทย”.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2553). Modern Management การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพฯ:
ทริเพิ้ล กรุ๊ป.
Berry, L. L., Shankar, V., Turner Parish, J., Cadwallader, S., & Dotzel, T. (2006).
Creating New Markets Through Service Innovation. MIT Sloan Management
Review.
Chesbrough H. (2011). Open Services Innovation: Rethinking Your Business to Grow
and Compete in a New Era. San Francisco, CA: Jossey-Bass.
Deshpande, R., & Farley, J. U. (2004). Organizational Culture, Market Orientation,
Innovativeness And Firm Performance. International Journal of Research in
Marketing.
Deshpande, R., Farley, J. U., & F. E. Webster, J. (1993). Corporate Culture, Customer
Orientation, and Innovativeness In Japanese Firms: A Quadrad Analysis.
Journal of Marketing.
Küpper C. (2001). Service Innovation – A Review of The State of The Art, LMU
Report 2001 – 06, Institute for Innovation Research and Technology
Management. Germany : University of Munich.
Lytle, R., & Timmerman, J. (2006). Service Orientation And Performance: An
Organizational Perspective. Journal of Services Marketing.
Teng, C., & Barrows, C. (2009). Service Orientation: Antecedents, Outcomes, And
Implications For Hospitality Research And Practice. Service Industries
Journal.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น