การกํากับดูแลที่ดีของประเทศไทย
คำสำคัญ:
การกำกับดูแลองค์กรที่ดี,ธรรมาภิบาลบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มุ่งนําเสนอการกํากับดูแลของประเทศไทยโดยการกํากับดูแลองค์การที่ดีเพื่อลดความขัดแย้งในประเทศ เป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีซึ่ง เป็นเครื่องมือของภาครัฐ ประเทศไทย จะต้องเตรียมพร้อมเพื่อปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงโลกที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอัน
ใกล้ ซึ่งแน่นอนเพื่อในการบริการประชาชนและนําไปประเทศไปสู(การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อไป ฉะนั้น ประเทศไทยในฐานะพันธมิตร ของมวลประเทศทั้งหลาย จะต้องเตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ซึ่ง สามารถสรุปหลักการใหญ่ได้
ดังนี้ คือหลักธรรมมาภิบาลมี ๖ หลัก คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความพร้อมรับผิด และหลักความคุ้มค่า
References
เกียรติศักดิ์ จีรเธียรนาถ. บรรษัทภิบาลวิถีแห่การนำองค์กรสู่ความรุ่งเรือง. พิมพ์ครั้งที่๒.กรุงเทพมหานคร : เอ็กซ์เปอร์เน็ก, ๒๕๔๓.
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. หลักการแนวทางและวิธีการสร้างแรงจูงใจเพื่อเสริมสร้าง การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ก, ๒๕๔๖.
เจริญ เจษฎาวัลย์ กรวางมาตรฐานธรรมาลิบาล. พิมพ์ครั้งที่ง, กรุงเทพมหานคร: พอดี. ๒๕๔๗.
ชัยอนันต์ สมุทรวานิช, รรรมาภิบาลการมีส่วนร่วมของประชาชนและกระบวนการทางด้านสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพมหานคร : เดือนตุลาการพิมพ์, ๒๕๔๓.
ธีรยุทธ บุญมี. รรมรัฐแห่งชาติยุทธศาสตร์กู้หายนะประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ สายร, ๒๕๔ต.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. อกสารสรุปการบรรยายเรื่อง การกำกับดูแลองค์การที่ดี. ณ ห้องประชุมคณะรัฐมนตรี สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ กรกฎาคม 6๕๕o.
พสุ เดชะรินทร. หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ. วันที่ คด กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖.
วิภาส ทองสุทธิ์. การบริหารจัดการที่ดี. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ครั้งที่ ๑, สำนักพิมพ์อินทภาษ, ๒๕๕๓.
สมาคมประกันวินาศภัย. คู่มือหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และข้อพึงปฏิบัติที่ดีของบริษัท ประกันวินาศภัย, ๒๕๕๕.
สถาบันพระปกเกล้. รางานการวิจัยตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. พิมพ์ครั้งที่0. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๖.
สุรพล นิติไกรพจน์ ศาสตราจารย์ประจำคณะนิติศสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ ด๙ ฉบับที่ ๔. ๒๕๓๔.
สุรีย์ สุมธนฤมิตร มหาวทยลัยบูรพา. ประมวลศัพท์ทางการบริหาร. ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์,๒๕๓๘.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น