การจัดการความขัดแย้งในระบบวรรณะ ของ ดร.เอ็มแบดการ์
คำสำคัญ:
การจัดการ, ความขัดแย้ง, ระบบวรรณะบทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและแนวคิดของ ดร.เอ็มแบดการ์ 2. เพื่อศึกษาวิเคราะห์การจัดการความขัดแย้งในระบบวรรณะ ของ ดร.เอ็มแบดการ์ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยทาการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ดร. อัมเบดการ์ถือว่าเป็นผู้นาในระดับประเทศ เป็นคนแรกที่กำเนิดมาจากจัณฑาล เขาได้พยายามกระตุ้นให้จัณฑาลมีความเชื่อมั่น เคารพตนเอง ช่วยเหลือตนเอง เป้าหมายหลักในการต่อสู้ของเขาคือ การยกฐานะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม โดยมีการค้าประกันสิทธิจัณฑาลอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ จะเห็นได้ว่าบทบาทของเขาในการยกฐานะจัณฑาลในฐานะที่เป็นผู้ต้อยต่ำของสังคม (Social Disabilities) ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ในขณะที่นักปฏิรูปคนอื่นๆ จะมีบทบาทเพียงกำรมอบสวัสดิการทางสังคมให้จัณฑาลเท่านั้น
References
ราชบัณฑิต. บัญชา สาเร็จกิจ. (2534). บทบาท ดร.บี อาร์ อีมเบการ์ในการยกฐานะจัณฑาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาประวัติศาสตร์). คณะศิลปศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ประเวศ วะสี. (2545). สันติวิธีกับมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานสิทธิและมนุษยชนแห่งชาติ.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (นิธิบุณยากร). (2554). พุทธสันติวิธี. กรุงเทพมหานคร : บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). ความขัดแย้ง : หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา, (กรุงเทพมหานคร : ศูนย์สันติวิธีและธรรมาภิบาล.
B.R. Ambedkar. (1970). Annihilation of Caste. Jalandhar Punjob : Bheem Patrika Publications. B.R. Ambedkar. (1979). “Caste in India” in Dr. Babasaheb Ambedkar : writings and Speeches. vol.1. Complied by Vasant Moon. Bombay : Education Department. Government of Maharastra. Owen Lynch. (1969). “Dr. B.R. Ambedkar : Myth and Charisma.” in The Untouchables in Contemporary India. ed. Michael J. Mahar. New York : Columbia University Press. Rajasekaharjah. A.M.. (1989). B.R. Ambedkar : the Quest for Social Justice. New Delhi : Uppal Publishing House. Sunanda Patwardhan. (1965). The Social Philosophy of B.R. Ambedkar. Agra : Phoenix Publishing House.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น