ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยการจัดการสาธารณสุขและปัจจัยด้าน ภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การเข้าถึงบริการสุขภาพ การจัดการสาธารณสุข และภูมิศาสตร์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยการจัดการ
สาธารณสุขและปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวใน
ประเทศไทย มีประชากรในการวิจัยคือแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ในสถานประกอบการธุรกิจ
กิจการต่อเนื่องประมงในจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 412 ราย เครื่องมือที่ใช้คือ
แบบสอบถาม ได้รับการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาและทดสอบหาค่าความเชื่อมั่น สถิติที่ใช้ใน
การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานใช้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า สมการโครงสร้างตามสมมติฐานสอดคล้องกับข้อมูลเชิง
ประจักษ์ โดยปัจจัยด้านการจัดการสาธารณสุข มีอิทธิพลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ เท่ากับ 0.13
และปัจจัยภูมิศาสตร์ มีอิทธิพลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ เท่ากับ 0.93 ค่าน้าหนักองค์ประกอบ
ของตัวชี้วัดในแต่ละปัจจัยพบว่า ปัจจัยด้านการจัดการสาธารณสุข ตัวชี้วัดด้านการสนับสนุน
งบประมาณจากภาครัฐ มีค่าน้าหนักองค์ประกอบมากที่สุด 0.79 (x11 = 0.79) ปัจจัยด้าน
ภูมิศาสตร์ ตัวชี้วัดด้านระยะเวลามีค่าน้าหนักองค์ประกอบมากที่สุด 0.88 (x22 = 0.88) ส่วน
การเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย พบว่า ตัวชี้วัดโครงสร้างพื้นฐานมีค่า
น้าหนักองค์ประกอบมากที่สุด 0.89 (y1=0.89) ยอมรับสมมติฐานอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05
References
http://www.mol.go.th/international01.html เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2558.
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2539). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชิน ตั้งบุญชัยเจริญ. (2557). การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการจัดการแรงงานต่างด้าวใน
อุตสาหกรรมประมงและห้องเย็นแปรรูปอาหารทะเล บริเวณจังหวัดชายทะเลภาค
กลาง.ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ และพรรณรัตน์ อาภรณ์พิศาล. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า กรณีศึกษากิจการต่อเนื่องประมง
จังหวัดสมุทรสาคร.วารสารวิชาการ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 ,หน้า80-89.
มูลนิธิรักษ์ไทย. (2554). การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาบริการและการใช้บริการเพื่อพัฒนา
ระบบการเงินการคลังสุขภาพ และการจัดบริการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความ
ต้องการสาหรับแรงงานข้ามชาติ : กรณีศึกษา จังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดระยอง.
กรุงเทพฯ : เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
วรเดช จันทรศร. (2551) .การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟ
ฟิค.
ศราวุธ เหล่าสาย. (2555) .การเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในโรงงาน
อุต ส า ห ก ร ร ม จัง ห วัด ข อ น แ ก่น . วิท ย า นิพ น ธ์ป ริญ ญ า ม ห า บัณ ฑิต ,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2545) .นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สมบัติ ธารงธัญวงศ์. (2546).นโยบายสาธารณะแนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ.
พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม.
สมบัติ ธารงธัญวงศ์. (2552). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์ และ
กระบวนการ.
กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์.(2544).ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ:
เฟื่องฟูาพริ้นติ้ง.
สุรพงษ์ กองจันทึก. (2557).สถานการณ์แรงงานข้ามชาติในประเทศไทย.เข้าถึงจาก
http://www. statelessperson. com/www/q= node/85 เข้าถึงเมื่อวันที่ 1
ธันวาคม 2557.
สุรสม กฤษณะจูฑะและคณะ. (2550).สิทธิสุขภาพสิทธิมนุษยชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี:
สานักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
สุวารี เจริญมุขยนันท์ และคณะ. (2556) .การศึกษาสถานการณ์การให้บริการสุขภาพกับชาว
กัมพูชาที่ชายแดนไทย-กัมพูชา :กรณีศึกษา จังหวัดสระแก้ว จันทบุรี และตราด.
กรุงเทพฯ : สานักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข.
สุวิมล ติรกานันท์.(2550).การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์แนวทางสู่
การปฏิบัติ.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สานักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน, กระทรวงแรงงาน . (2558).
สถิติแรงงานต่าง ด้าว. กรุงเทพฯ: กรมจัดหางาน สานักบริหารแรงงานต่างด้าว.
สานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2554) .
การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาบริการและการใช้บริการเพื่อพัฒนาระบบการเงินการ
คลังสุขภาพ และการจัดบริการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการสาหรับ
แรงงานข้ามชาติ :กรณีศึกษา จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดระยอง. มูลนิธิรักษ์ไทย
(ฟูามิตร 2).
เอนก สุวรรณบัณฑิตและภาสกร อดุลพัฒนกิจ. 2548).จิตวิทยาบริการ.กรุงเทพฯ:เพรสแอนด์
ดีไซน์.
Aday , L.A and Andersen, R . (1981). Equity of Access to medical Care A concept
and Empirical Overview ,Medical Care.
Brown, M. , and Lewis, H.L. (1976). Hospital management system:multi-unit
Organization and delivery of health care. Maryland:AspenPublisher.
Cronbach, L. J. (1990).Essentials of psychological testing (5th ed.).New York:
Harper & Row.
Fleischman Y, Willen SS, Davidovitch N and Mor Z.(2015). Migration as a social
determinant of health for irregular migrants: Israel as case study. Public
Health Services, Ministry of Health, Jerusalem, Israel. http://www.ncbi.
nlm.nih.gov/pubmed/26552014.
Gulliford,M.(2001).Accessto Health care, CCSDO. (online)availablefrom.
http://www.sdo.Ishtm.uk/PDF/Access Scoping Exercise Report .
International Labour Office(2001). Constitution of the International Labour
Organization .Geneva.
Li T, Lei T, Xie Z, Zhang T. (2016). Determinants of basic public health services
provision by village doctors in China: using non-communicable diseases
management as an example.http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed.
Penchansky, R. ,and Thomas, J.W. (1981).The concept of Access Definition and
Relationship to Consumer Satisfaction.Medical.19(2),127-140.
Taro Yamane. (1970) .Statistic : An Introductory Analysis. 2nd ed. Tokyo :
Weather-hill.
World Health Organization.(2004). Towards age-friendly primary health care.
Geneva: World Health Organization.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น