คุณภาพการให้บริการประชาชนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสำนักงาน เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
คุณภาพการให้บริการประชาขน , สังคหวัตถุ 4 , สานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการตามหลักสังคห
วัตถุ 4 ของสานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ตามความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ2) เพื่อ
เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพการให้บริการตามหลักสังคหวัตถุ4 ของ
สานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร จาแนกตาม เพศ อายุสถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ
และ รายได้ต่อเดือน3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขต่อการให้บริการ
ประชาชนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี การโดยศึกษากลุ่มตัวอย่างจานวน 397 คน จากประชากร
จานวน 55,789 คน ซึ่งเป็นประชาชนในเขตยานาวา กรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการวิจัย สถิติที่ใช้คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน การวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัญจานวน 9 คน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
เกี่ยวกับการให้การบริการประชาชน ด้วยวิธีเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาความ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประชาชนที่มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของ
สานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย x¯
=3.15 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชน ที่มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการตาม
หลักสังคหวัตถุ 4 ของสานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดย
เรียงลาดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสมานัตตตามีค่าเฉลี่ยx¯=3.15. รองลงมาคือด้านทานมี
ค่าเฉลี่ยx¯=3.15 ด้านอัตถจริยามีค่าเฉลี่ยx¯=3.15 และน้อยที่สุดคือ ด้านปิยวาจา มีค่าเฉลี่ยx¯=1.14
สรุปภาพรวม ประชาชน ที่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ตามลาดับ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของประชาชน ที่มีความคิดเห็นต่อคุณภาพ
การให้บริการตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครจาแนกตามข้อมูล
ส่วนบุคคล พบว่า ประชาชนที่มีเพศ มีสถานภาพ มีระดับการศึกษา มีรายได้ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน
มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสานักงานเขตยานนาวา
กรุงเทพมหานครไม่แตกต่างกันส่วนประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญที่ระดับ 0.05
3. ปัญหาอุปสรรคและอุปสรรคเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของ
สานักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครได้แก่ผู้บริหารขาดความสามารถในการนาหลักการบริหาร
มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมสาหรับการบริหารประชาชนขาดการส่วนร่วมในการประเมินผลและให้
ข้อเสนอแนะจึงควรมีแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้และเพิ่มขีดความสามารถในการประยุกต์หลักการ
บริหารเพื่อใช้ในการบริหารองค์กร และควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน
และเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหาร
References
และ พฤติกรรมในการให้บริการประชาชนเทศาภิบาล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น.
ดนัย วงศ์อมรอัครพันธ์. (2553) “ความพึงพอใจของประชาชน ต่อการให้บริการของสภา
ทนายความตามหลักสังคหวัตถุ 4”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต
วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 82. กรุงเทพฯ :
บริษัทพิมพ์สวย จากัด.
พระยุทธภูมิ ธมฺมธโร (สังชาดี). (2553). “การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลตาม
หลักสังคหวัตถุ 4 ตามความคิดเห็นของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหาร
ส่วนตาบลในอาเภอนาแก จังหวัดนครพนม”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต.
บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชันย์ ธงชัย. (2551). “ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการในการลงบัญชีทหารกองเกิน
ตามแนวสังคหวัตถุ 4 ของหน่วยสัสดีอาเภอเมือง จังหวัดระยอง ”. วิทยานิพนธ์พุทธ
ศาสตร์มหาบัณฑิต .บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมหมาย บัวจันทร์. (2551). “การวิเคราะห์และยกระดับความพึงพอใจในการให้บริการประชาชน
ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของสานักงานเขตบางแค กรุงเทพฯ ”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร
มหาบัณฑิต . บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สานักงานเขตยานนาวา. (2555). บรรยายสรุปสานักงานเขตยานนาวา พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ :
สานักงานเขตยานนาวา.
อนุวัต กระสังข์. (พฤษภาคม- สิงหาคม 2557).“ผู้นาในยุคโลกาภิวัตน์”. วารสาร มจร. สังคมศาสตร์
ปริทรรศน์. 3(2) : 27.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น