ความสัมพันธ์ของการตระหนักรู้ในตนเองต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของนักศึกษาปริญญาตรีที่มีสถานภาพรอพินิจ

ผู้แต่ง

  • ภาคภูมิ ธีรสันติกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • กานดา จันทร์แย้ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • เกษตรชัย และหีม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา, สถานภาพรอพินิจ, การตระหนักรู้ในตนเอง, นักศึกษา, ปริญญาตรี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. ศึกษาระดับการตระหนักรู้ในตนเองของนักศึกษาปริญญาตรี 2. ศึกษาความสัมพันธ์ของการตระหนักรู้ในตนเองต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษาปริญญาตรีแยกตามด้านการศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ด้านสังคมศาสตร์ และด้านการบริหารและการจัดการ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาปริญญาตรีที่มีสถานภาพรอพินิจของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น และได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 118 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ และการถดถอยพหุคูณ

ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษาปริญญาตรีที่มีสถานภาพรอพินิจของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่จากองค์ประกอบของการตระหนักรู้ในตนเอง 4 ปัจจัย ได้แก่ การรู้จักและเข้าใจตนเอง
การยอมรับตนเอง การสะท้อนตนเอง และการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสะท้อนคุณค่าในตนเองมีความสัมพันธ์สูงที่สุดและการเห็นคุณค่าในตนเองมีความสัมพันธ์น้อยที่สุด

References

กชพร ใจอดทน และอรณิชชา ทศตา. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยนครราชสีมา. APHEIT JOURNAL, 27(2), 29–41.

กันต์ ปั้นภู. (2560). ความสัมพันธ์ของการตระหนักรู้คุณค่าในตนเองที่มีต่อเป้าหมายและความสำเร็จในการเรียนตามหลักอิทธิบาท 4 : กรณีศึกษานิสิตระดับปริญญาตรีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวิตและความตาย). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

โกมล จันทวงษ์. (2558). ปัจจัยสาเหตุการออกกลางคันของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ศูนย์สระแก้ว. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 5(1), 127-141.

เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์ และคณะ. (2556). โมเดลเชิงสาเหตุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาวะรอพินิจของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ฐานิตา ลอยวิรัตน์. (2558). การศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ส่งผลต่อการพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (รายงานการวิจัย). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

นันธวัช นุนารถ. (2561). ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการออกกลางคันของเด็กและเยาวชน. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

เบญจวรรณ บุณยะประพันธ์. (2563). การพัฒนาคู่มือเพื่อสร้างการตระหนักรู้ในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 13(1), 74-85.

ปัญจา ชูช่วย. (2551). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พนิดา จันทรกรานต์. (2559). การศึกษาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 15(2), 102-109.

พีระศักดิ์ จิ้วตั้น และคณะ. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการตกออกของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา 2562 (รายงานการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ภาคภูมิ ธีรสันติกุล และเกษตรชัย และหีม. (2565) . การพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเองของนักศึกษา. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 12(3), 588-600.

ภาวดี เหมทานนท์ และอมาวสี อัมพันศิริรัตน์. (2563). ผลของรูปแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีการสะท้อนคิดต่อการตระหนักรู้ในตนเองในนักศึกษาพยาบาล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(7), 275-288.

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2560). แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). สืบค้น 8 พฤศจิกายน 2564, จาก https://shorturl.asia/2aRt5

อำนาจ วังจีน. (2557). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครมีสภาพรอพินิจ. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 20(2), 136-147.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Maslow, A. H. (1987). Motivation and Personality. New York: Harper Row Publisher.

Mualifah, A., et al. (2019). The effect of self-acceptance and social adjustment on senior high school student’s self-concept. International Journal of Educational Research Review, (Special Issue), 719-724.

Prescott, D. A. (1 9 61). Report of Conference on Child Study. Educational Bulletin. Faculty of Education. Bangkok: Chulalongkorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-01

How to Cite

ธีรสันติกุล ภ., จันทร์แย้ม ก., & และหีม เ. (2024). ความสัมพันธ์ของการตระหนักรู้ในตนเองต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ของนักศึกษาปริญญาตรีที่มีสถานภาพรอพินิจ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 13(4), 234–247. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/267628