BUDDHIST INTEGRATION FOR THE EFFICIENCY MANAGEMENT ENHANCEMENT OF NATIONAL TELECOM PUBLIC COMPANY LIMITED
Keywords:
Buddhist Integration, Efficiency of Management, National Telecom Public Company LimitedAbstract
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปเกี่ยวกับประสิทธิภาพการบริหารของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารและเพื่อนำเสนอรูปแบบการบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจำนวน 391 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและเชิงอนุมานด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 18 รูปหรือคน โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนา
ผลการศึกษาพบว่า 1. ประสิทธิภาพการบริหารของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการบริหารของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.11 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการองค์กร พบว่า กระบวนการบริหารจัดการ บรรยากาศองค์กร และหลักอิทธิบาท 4 ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. รูปแบบพุทธวิธีการบริหารจัดการองค์กรคุณภาพของบริษัทมหาชน จำกัด คือ มีประสิทธิภาพการบริหารของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) ทั้งหมด 5 ด้าน และมีปัจจัยที่ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพการบริหารอีก คือ กระบวนการบริหารจัดการ บรรยากาศองค์กร และหลักอิทธิบาท 4
References
ชนะพงษ์ กล้ากสิกิจ. (2562). ประสิทธิผลการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองในจังหวัดกาแพงเพชร (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ชุติมา สุทธิประภา. (2561). บรรยากาศองค์การและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลในเครือเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารพยาบาล, 63(4), 25-33.
ทิรัศม์ชญา พิพัฒน์เพ็ญ และคณะ. (2557). การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติราชการของเทศบาลนครสงขลา (รายงานวิจัย). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ธงชัย คล้ายแสง. (2562). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬาโดยการบูรณาการหลักพุทธธรรมของจังหวัดบุรีรัมย์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
นิอร ศรีสุนทร. (2559). การพัฒนารูปแบบการบริหารผลการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ. (2562). แผนธุรกิจ บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรม พุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พัทธนัญพร พิพิธวรโภคิน. (2564). การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติราชการของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์).พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมบัติ นามบุรี. (2562). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแบบพุทธบูรณาการของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2564). แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562–2566. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://www.nbtc.go.th/getattachment/Information/ MasterPlan /37610 แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม-ฉบับที่-2.pdf.aspx.
สิงห์คำ มณีจันสุข. (2563). การบริหารจัดการสวัสดิการสำหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อรวิภา จรูญจารุวัฒนา. (2559). การบูรณาการหลักอิทธิบาท 4 กับการเรียนการสอนของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตำบลหายยา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 7(2) : 183-194.
Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis (3rded). New York: Harper and Row.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Journal of MCU Social Science Review
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
In order to conform the copyright law, all article authors must sign the consignment agreement to transfer the copyright to the Journal including the finally revised original articles. Besides, the article authors must declare that the articles will be printed in only the Journal of MCU Journal of Social Sciences. If there are pictures, tables or contents that were printed before, the article authors must receive permission from the authors in writing and show the evidence to the editor before the article is printed. If it does not conform to the set criteria, the editor will remove the article from the Journal without any exceptions.