วงจรอำนาจรัฐหรือวงจรอุบาทว์

ผู้แต่ง

  • พระอุดมสิทธินายก (กำพล คุณงฺกโร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

วงจรอำนาจรัฐ, วงจรอุบาท, อำนาจ

บทคัดย่อ

รัฐหรือประเทศใดๆ ในโลกนี้ล้วนแล้วแต่ต้องมีผู้นำเพื่อมาบริหารประเทศให้มีความมั่นคงทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจให้เกิดขึ้นและยั่งยืน แต่การขึ้นมาเป็นผู้นำตามระบอบการปกครองในแต่ละประเทศอาจจะมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับบริบทของประเทศนั้น ๆ จึงเป็นที่มาของการดำเนินการตามวิถีการเมือง ผู้นำที่จะคงอำนาจของตนให้อยู่ในตำแหน่งการบริหารให้ยาวนานที่สุดซึ่งวิธีนั้นจะเป็นวิธีการตามบทบัญญัติของกฎหมายหรืออาศัยช่องโหว่ของกฎหมายก็ตาม บทความนี้จะนำเสนอการบริหารของผู้นำที่เป็นวงจร ซึ่งผู้เขียนใช้คำว่าวงจรอำนาจรัฐหรือวงจรอุบาทว์ ซึ่งอำนาจรัฐในที่นี้หมายถึงอำนาจอธิปไตย ซึ่งเน้นการเข้าสู่ตำแหน่งของฝ่ายบริหาร ตามหลักการปกครองแบบประชาธิปไตย ซึ่งมีอำนาจนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ

References

เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์. (2508). หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: มปพ.

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. (2562). ความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 พื้นที่กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.

วาสนา นาน่วม. (2564). 7 ปี รัฐประหาร ทหารโต้ "ปัญหาของวงจรอุบาทว์" คือใคร? แจง ทำอะไรสำเร็จบ้าง. สืบค้น 1 สิงหาคม 2564, จาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_6414148

วีรพงษ์ รามางกูร. (2559). วงจรการเมืองไทย โดย วีรพงษ์ รามางกูร. สืบค้น 30 กรกฎาคม 2564, จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_73607

THE STANDARD TEAM. (2562). 26 กุมภาพันธ์ 2500 – เลือกตั้งสกปรกที่สุดในประวัติศาสต์การเมืองไทย. สืบค้น 30 กรกฎาคม 2564, จาก https://thestandard.co/onthisday260219/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-02

How to Cite

(กำพล คุณงฺกโร) พ. . (2022). วงจรอำนาจรัฐหรือวงจรอุบาทว์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(3), 456–464. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/254405