การบูรณาการวิธีสอนเพื่อสร้างคุณภาพห้องเรียนออนไลน์

ผู้แต่ง

  • พระชัษษพณขิ์ จันวงค์เดือน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การบูรณาการวิธีสอน, การเรียนการสอนออนไลน์, ห้องเรียนออนไลน์

บทคัดย่อ

ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จึงต้องจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเรียนการสอนดังกล่าวมีปัญหาเกิดขึ้นตามมาหลายอย่าง จำเป็นต้องสร้างคุณภาพห้องเรียนออนไลน์ โดยการบูรณาการวิธีสอน

ดังนั้น บทความวิชาการนี้จึงกำหนดหัวข้อ “การบูรณาการวิธีสอนเพื่อสร้างคุณภาพห้องเรียนออนไลน์” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอองค์ความรู้ใหม่จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการบูณาการ วิธีสอน และการเรียนการสอนออนไลน์ จากเอกสารทางวิชาการด้วยวิธีพรรณนา ได้ข้อค้นพบว่า การบูรณาการวิธีสอนเพื่อสร้างคุณภาพห้องเรียนออนไลน์มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมห้องเรียนออนไลน์ ขั้นแนะนำก่อนเรียน ขั้นเรียนรู้ผ่านกลุ่ม ขั้นเรียนรู้จากตัวอย่าง ขั้นอภิปราย ขั้นสร้างองค์ความรู้ใหม่ และขั้นสรุป บทเรียนและศึกษาเพิ่ม ซึ่งแต่ละขั้นตอนได้กำหนดวิธีปฏิบัติไว้เป็นลำดับขั้นตอนอย่างมีเหตุผล 

References

กุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. (2550). สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์นำไปสู่การจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: อักษรการพิมพ์.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). ยุทธ์ศาสตร์การเรียนรู้ในอนาคต. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อีเลอร์นนิง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้ง แอนด์พับลิสชิ่ง.

ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning: หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. เชียงใหม่: พิมพ์ลักษณ์.

ทิพย์วิมล วังแก้วหิรัญ. (2551). การจัดกระบวนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: เทมการพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 5). ฉบับปรังปรุงใหม่. กรุงเทพฯ: เทคนิพริ้นติ้ง.

พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2563). เรียน "ออนไลน์" กับการปิด-เปิดโรงเรียนในช่วงโควิด-19. อัดสำเนา

ยุดา รักษ์ไทย และธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. (2542). เทคนิคการตัดสินใจและการแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: เอ็กสเปอร์เน็ท.

วลัย พานิช. (2544). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา.กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: แอลทีเพรส.

วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สยามกัมมาจล.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2563). จากการเรียนรู้ออนไลน์สู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิทยา วาโย และคณะ. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์

อนามัยที่ 9, 14(34), 285-298.

ศิริพร ศรุตาพร. (2554). คู่มือวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ. กรุงเทพฯ: เบสบุ๊ค.

สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: รามคำแหง.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2550). สุดยอดวิธีสอนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นำไปสู่...การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2556). ห้องเรียนกลับทาง: ห้องเรียนมิติใหม่ในศตวรรษที 21. แพร่:สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2.

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2551). 21 วิธีจัดการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.

อารี พันธ์มณี. (2552). กิจกรรมคัดสรรในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

โอภาส เกาไศยาภรณ์ และคณะ. (2560). การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง: รายการตรวจสอบ. กรุงเทพฯ: นีโอพ้อยท์.

Arabasz, P., & Baker, M. B. (2003). Evolving campus support models for E-learning courses. ECAR Respondent Summary. Educause Center for Applied Research.

Bergmann, J., & Sams, A. (2012). Flip your classroom: Reach every student in every class every day. International society for technology in education.

Clark, W. W. (1991). Noise exposure from leisure activities: a review. The Journal of the Acoustical Society of America, 90(1), 175-18.

Lake, K. (2000). Integrated curriculum School Improvement Research Series. Northwest Regional Educational Laboratory.

McKenney, W. P. (2016). Santa Clara University College of Law. The Catholic Lawyer, 5(1), 6.

Mellish, J. M., & Brink, H. (1990). Teaching the practice of nursing: a text innursing didactics. Butterworths.

Mitchel and Kowalik. (1999). Kowalik. Creative Problem Solving.

Ojalvo, H. E., & Doyne, S. (2011). Five ways to flip your classroom with the New York Times. New York Times.

Osborne, J., & Dillon, J. (2008). Science education in Europe: Critical reflections (Vol. 13). London: The Nuffield Foundation. Retrieved May 5, 2016.

Phurikultong, N., & Tuntiwongwanich, S. (2021). Using Digital Storytelling to Enhance Thai Student Analytical Thinking and Learning Achievement by use of a Flipped Classroom Environment Model and Inquiry-based Learning (IBL). PalArch's Journal of Archaeology of gypt/Egyptology, 18(4), 1829-1848.

Wagner, N., et al. (2008). Who is responsible for e-learning success in higher education? A stakeholders' analysis. Journal of Educational Technology & Society, 11(3), 26-36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-02

How to Cite

จันวงค์เดือน พ. (2022). การบูรณาการวิธีสอนเพื่อสร้างคุณภาพห้องเรียนออนไลน์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(3), 493–509. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/254224