การพัฒนาการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของคณะสงฆ์ จังหวัดพิจิตร

ผู้แต่ง

  • พระครูพิทูรนคราภิรักษ์ (อนุชาติ นรินฺโท) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ประเสริฐ ธิลาว มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระอุดมสิทธินายก (กำพล คุณงฺกโร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ประสิทธิ์ พุทธศาสน์ศรัทธา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พงศ์พัฒน์ จิตตานุรักษ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การพัฒนาการบริหารจัดการ, โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5

บทคัดย่อ

บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการ ศึกษากระบวนการพัฒนาและนำเสนอการ การวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี เก็บข้อมูลด้วยการแจกแบบสอบถาม 221 ชุด และ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ 20 รูปหรือคน และสนทนากลุ่มเฉพาะ 11 รูปหรือคน เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร

ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. กระบวนการพัฒนาการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 พบว่า มีหลักการในการวางแผนการทำงานที่รอบครอบวิเคราะห์สภาพพื้นที่และภาครัฐมีส่วนร่วมในการวางแผน และดำเนินงานอย่างเคร่งคัด มีการแบ่งงานกันทำด้วยความสามัคคี การติดตามและประเมินผลตามแผนงาน 3. การพัฒนาการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ประกอบด้วย วงกลม 3 วง ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน คือ การพัฒนาการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของคณะสงฆ์จังหวัดพิจิตร และกระบวนการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ที่เป็นกระกวนการทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ การพัฒนาการดำเนินโครงการของบุคลากรโดยใช้หลักอิทธิบาท 4

References

ประจักษ์ ผลเรือง. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร์). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พระเทพสิงหวราจารย์ (โสภณ โสภโณ/ยอดคำปา). (2562). การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ. (2559). การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(3). 42-62

พระมหาบุญเลิศ อินทปัญโญ และคณะ. (2556). หมู่บ้านรักษาศีล 5 : รูปแบบและกระบวนการเสริมสร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันของสังคมไทย (รายงานวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาอภิวัชร์ อภิวชฺชโร. (2564). คุณภาพชีวิตของประชาชนตามแนวโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของชุมชนหนองจอก อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 4(2), 31-41.

พระอนุวัฒน์ อภิวฑฺฒโน. (2564). การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของชุมชนวัดหนองไม้เหลือง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 4(1), 37-46.

แพรภัทร ยอดแก้ว. (2557). การถอดบทเรียนการดำเนินงานหมู่บ้านศีล 5 ของจังหวัดนครปฐม (รายงานวิจัย). นครปฐม: สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร. (2557). หมู่บ้านรักษาศีล 5 บ้านคลองยาง ตำบลไผ่รอบ อำเภอโพธิ์ประทับช้าง. พิจิตร: สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร.

สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดหนองคาย. (2559). การดำเนินโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5” (ระยะที่ 3) จังหวัดหนองคาย. หนองคาย: สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดหนองคาย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-02

How to Cite

(อนุชาติ นรินฺโท) พ., ธิลาว ป. ., (กำพล คุณงฺกโร) พ., พุทธศาสน์ศรัทธา ป. ., & จิตตานุรักษ์ พ. . (2022). การพัฒนาการบริหารจัดการโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ของคณะสงฆ์ จังหวัดพิจิตร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(3), 224–238. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/252786