ผลกระทบของการบัญชีสังคมและความรับผิดชอบของบริษัทต่อสังคมที่มีต่อความยั่งยืนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ชื่นกมล สินบางหว้า
  • ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

การบัญชีสังคม ความยั่งยืนขององค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษาผลกระทบของการบัญชีสังคมและ ความรับผิดชอบของบริษัทต่อสังคมที่มีต่อความยั่งยืนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้มาจากบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จานวน 192 ตัวอย่าง โดยใช้เครื่องเครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ในส่วนของการวิเคราะห์ทางสถิติมีดังนี้ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) อธิบายถึงลักษณะทั่วไปของบุคคลโดยการแจกความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัยจากกรอบแนวคิด ผลการวิจัย พบว่า การบัญชีสังคมและความรับผิดชอบของบริษัทต่อสังคม มีผลกระทบ เชิงบวกต่อความยั่งยืนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านความมีชื่อเสียง ด้านภาพลักษณ์ ด้านความสาเร็จ ด้านความมั่นคงทางการเงิน ด้านการยอมรับจากสังคมของบริษัท ด้านความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยควรมุ่งเน้นศึกษาถึงการพัฒนากระบวนการในการดาเนินงานเกี่ยวกับการมีความรับผิดชอบต่อสังคมทางการบัญชีเพื่อเป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กรต่อไป

References

Back, H. J. (2006). The Effects of Image Congruence on Customer Satisfaction and Brand Loyalty in The Lodging Industry. New York: The Pennsylvania state University. Collier, J. & Esteban, R. (2007). Corporate Social Responsibility and Employee Commitment. Business Ethics: A European Review. Kornkanok Tipparos and Papruk Utsahavanichkity. (2548). Corporate Good Governance in Thailand: Survey of Registered Companies in Stock Market. Academic Journal of Thai Chamber of Commerce University, 25(1), 198-210. Somchai Supatada. (2552). When LEAN Does Not Make Profit, How to Mamage With LEAN Accounting. Bangkok: E.I. Square. Supatrasorn Taweechan. (2556). Accounting for Social Responsibility and Environment: Organization Sustainable Success. Naresuan University Journal, 21(1), 136-141. Tassanee Tanaanantakul. (2552). Relationship between Development of Accounting of Environment, Social Responsibility and Image of Paper Business Oranizations in Thailand (Master’s Thesis). Mahasarakam: Mahasarakam University. Tharini Nenwong. (2559). Factors Affecting The Level of Internal Control of The Accounting Information Systems on The Government Fiscal Management Information System In The Political Support Mission Agencies. Journal of MCU Social Science Review, 5(3), 159–172.
Wichchukorn Narkton. (2559). Good Governance of fiscal Administration in Local Administration Organization. Journal of MCU Social Science Review, 5(2), 355–364.

เผยแพร่แล้ว

2020-08-01

How to Cite

สินบางหว้า ช. ., & สินจรูญศักดิ์ ฐ. . (2020). ผลกระทบของการบัญชีสังคมและความรับผิดชอบของบริษัทต่อสังคมที่มีต่อความยั่งยืนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1), 161–168. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245581