การปกครองที่เป็นธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท

ผู้แต่ง

  • พระชลญาณมุนี (สมโภช ธมมโภชฺโช) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การปกครอง, การปกครองที่เป็นธรรม, พระพุทธศาสนาเถรวาท

บทคัดย่อ

การปกครองที่เป็นธรรม และมีระเบียบในการปกครองที่ทําให้เกิติความสงบเรียบร้อย ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในเรื่องอธิปไตยทั้ง ๓ ประการ คือ (๑) ฮัตตาธิปไตย (๒) โลกาธิปไตย (n) กรรมาธิปไตย ซึ่งผู้ปกครองซะต้องเป็นผู้ทรงธรรม มีความยุติธรรม มีความรอบรู้ ตามหลัก กฎหมาย และหลักศีลธรรม หมายถึง หลักธรรมที่พระราชาและผู้นํา ใช้การปกครอง ได้แก่ หลัก ทศพิธราชธรรม ติณ, ซักรวรรดิวัตร ๓๒, ราชสังคหวัตถุ ๔, และอศิต ๔, ใช้สําหรับชนชั้นผู้นํา และหลักธรรมที่ประพฤติร่วมกัน ทั้งชนชั้นผู้ปกครอง ข้าราชบริพาร และประชาราษฎร ได้แก่ พริต 5 และ ทิศ 5 ดังนั้น รูปแบบการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทนั้น แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ (a) รูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตย กล่าวคือ การปกศรองที่มีพระราชาเป็นใหญ่เป็นการ ปกครองโดยบุคคลคนเดียว ชัตเป็นรูปแบบการปกครองที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพราะเป็นทั้งผู้ ฮอกกฎหมาย และเป็นผู้ใช้กฎหมายซึ่งมีความเสี่ยงตัว และทรงไว้ซึ่งอํานาจสูงสุด (2) รูปแบบ การปกครองแบบสามัคคีธรรม กล่าวคือ การปกครองที่พร้อมเพรียงอย่างขอบธรรม เป็นการ ปกศรสูงโดยการรวมหลายรัฐแล้ว เลือกผู้นําขึ้นมาคณะหนึ่ง เพื่อทําหน้าที่บริหารประเทศ มีการ สับเปลี่ยนกันตามแต่ประชาชนจะเลือกเข้ามา หรือเรียกว่า ประชาชื่ปไตย โดยมีหลักการปกครอง 8 ประเด็น คือ (๑) มีสิทธิที่จะกระทําการใดๆ ที่ไม่ขัดต่อสิทธิของผู้อื่นหรือขัดต่อศีลธรรม มีเสรีภาพที่ จะกระทําการใดๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง (๒) มีความเสมอภาคตามกฏของ ไตรลักษณ์ และทางสังคม เช่น ชนชั้น เพศ (๓) มีความสมัครสมานสามัคคีในหมู่คณะ ที่เรียกว่า ภราดรภาพ

References

ภาษาไทย
(๑) หนังสือ
จํานงศ์ ทองประเสริฐ, พระมหาธรรมิกราชาธิราช. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหธรรมิก จํากัด,๒๕๔๙.
นิติภูมิ นวรัตน์, ร.ต.อ. ตร. คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของประเทศเวียดนาม. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงทุณธรรม,๒๕๔๐.
ปรีชา ข้างขวัญยืน. ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา กรุงเทพมหานคร : สามัคคีเสาส์น,๒๕๔๐.
พุทธทาสภิกขุ, ธรรมบรรยายชุดทศพิธราชธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหมิตร, ๒๕๓๑.
“พระเมธีธรรมานภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), พุทธศาสนากับปรัชญา (กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ จํากัด, ๒๕๓๓), หน้า และ
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓
- พุทธศาสนาจะวิกฤติ ต้องศิตให้ไกล รู้ให้ทัน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มูลนิธิพุทธรรม, ๒๕๔๔.
- วัฒนธรรมไทยสู่ยุคเป็นผู้นําและเป็นผู้ให้, กรุงเทพมหานศระ บริษัท สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๓๗.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), ศวัต ๒. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์เลี่ยงเซียง, ๒๕๔๕ พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๓.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต), พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพมหานคระ บริษัท
อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ ๒๕๓๓.
สุนทร ณ รังษี, สถาบันทางการเมืองตามแนวพุทธศาสตร์ รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ กรุงเทพมหานคร : สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, b๕ma สุทธิวงศ์ สันตยาพิศาลสุทธิ์. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎr. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพ์ธรรมสภา, ๕๕
สมบูรณ์ สุขสําราญ พุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม. กรุงเทพมหานคร -สํานักพิมพ์จุฬาสงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗. สวัสดิ์ พินิจจันทร์, ศศิธรรม. กองวัฒนธรรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๐๕.
(๒) วารสาร
สมภาร พรมทา. สิทธิในทัศนะของพุทธศาสนา, พุทธศาสตร์ศึกษา. ปีที่ 8 ฉบับที่ มกราคม - เมษายน, ๒๕๓๗.
E. ภาษาอังกฤษ
(1) Book
Phraphomkhunaphon (P. A Payutto). A Constitution for Living Buddhist Principlesfor a Fruitful and Harmonious Life. Bangkok Office of National Buddhism Press, 1997.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-04-15

How to Cite

(สมโภช ธมมโภชฺโช) พ. (2015). การปกครองที่เป็นธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 4(2), 1–15. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245359