การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
คำสำคัญ:
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, ความเหลื่อมล้ําบทคัดย่อ
บทความวิจัยเรื่อง "การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลดความเหลื่อมล้ำในสังคม "มีวัตถุประสด์การวิจัย ๑) เพื่อศึกษาข้อมูลทางประชากรศาสตร์ที่มีต่อการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลดความเหลื่อมล้ำในสัคม ๒) เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจ การร่วมกิจกรรม การเผยแพร่ความรู้ และการดำเนินชีวิตตามศรษฐกิพอเพียง ๓) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) ร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ๔๐๐ คนและเสริมด้วยการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้างจากกลุ่มตัวอย่าง ดb คน โดยทำการศึกษาในพื้นที่๔ เขตคือ เขตบางรัก เขตพญไท ขตบางเขน และเขตหนองแขม เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามได้ครบตามจำนวนที่กำหนดแล้วจึงนำมาวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ในโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิจัยเชิงคุณภาพใช้สถิติเชิงพรรณนาผลการวิจัยชิปริมาณพบว่า การร่วมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับต่ำ การเผยแพความรู้ และการดำเนินชีวิตตมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ในระดับป่านกลาง, การนำปรัชญาเศษฐกิพอเพียงลดความเหสื่อมล้ำในสังคมด้านเศรษฐกิจ ด้านจิตใจ และด้านสังคม อยู่ในระดับความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิ่งผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิพอเพียงและนำมาใช้เป็นแนวทางในดำเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
References
กัลยา วาณิชย์บัญชา. การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SpSS for Windoพร. พิมพ์ครั้งที่ ๓.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์, ๒๕๔๖.
(๒) วารสาระ
ยงยุทธ บุรสิทธิ์. ชุมชนคนอีสานกับปัญหาความหลื่อมทางสังคมในกรุงเทพมหานคร : วารสาร
ภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ ๓ษ ฉบับที่ ๑ (มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๖)
(๓) วิทยานิพนธ์/รายงานวิจัย:
กุญริภา กิติวงศ์ประที่ป. "การรับรู้เศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตในการทำงานและความสุขใน
การทำงานของพนักงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค".
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนือ, ๒๕๕๐.
ณัฐพจน์ ยืนยง. "ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพ
ชีวิตของข้าราชการครูสังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร". วิทยานิพนธ์ศิลป
-ศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๕๕.
ศีลวัต ศรีสวัสดิ์. "ความรู้ความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของผู้ที่มีภูมิลำเนาในเขต
กรุงเทพมหานคร". ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม
คณะ พัฒนสังคมและสิ่งแวดล้อม. บัณฑิตวิทยาลัย : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร์, ๒๕๕๒.
สมพร กุดน้อย. "ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การประยุกต์ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการ
บริหารจัดการองค์การพับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตและคุณภาพชีวิตการทำงานของ
พนักงาน บริษัท แพรด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน)". วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๕O.
โอภาส นิติกิไพบูลย์. "การประยุกต์ใช้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงกับการดำเนินชีวิตของ
เกษตรกร คณีศึษา เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการวนเกษตรของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็ม
เฉลิม". ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาการเศรษฐกิจ คณะพัฒนา
เศรษฐกิจ. บัณฑิตวิทยาลัย : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๗.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2016 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น