การเผยแผ่พระพุทธศาสนา : การพัฒนารูปแบบและวิธีการเชิงรุกของคณะสงฆ์ไทย

Authors

  • สมชัย กลิ่นจันทร์ Faculty of Cultural Science, Mahasarakham University
  • Prarob Kaewses Faculty of Cultural Science, Mahasarakham University
  • Phrarachworamethee Faculty of Cultural Science, Mahasarakham University

Keywords:

uddhism Propagation; Propagation Pattern; Propagation Methods; Proactive Buddhism Propagation

Abstract

บทความวิจัยนี้ มีความมุ่งหมาย ๓ ประการ คือ เพื่อศึกษารูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์สู่สังคมไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของรูปแบบและวิธีการเผแผ่พระพุก ศสนาของคณะสฆ์ไทยในปัจจุบัน และเพื่อพัฒนารูปแบบและวิธีการเผยแผ่เชิรุกของคณะสฆทย ผู้วิจัยใช้วิธีการชิคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ซึ่งประกอบด้วย ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มผู้รู้ กลุ่มผู้ปฏิบัติ และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั่วไป จำนวนคต๘ รูป/ค เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสำรวจ แบบสังเกตอย่างมีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์เชิลึก แบบบันทึกผลการสนทนากลุ่ม และแบบบันทึกการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ และนำเสนอผลการวิจัยโดยวิธีพรรณาวิเคราะห์ ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้รูปแบบการเผยแผ่พุทธธรรมจกอดีตจนถึปัจจุบัน มี ๗ รูปแบบ ได้แก่ การสอนธรรมแก่คนที่เข้ามาเฝ้ตั้งแต่หนึ่งและหลายคนตามโอกาส การสอนธรรมโดยทรงยกหัวข้อธรรมข้อใดข้อหนึ่งซึ่งเป็นข้อควรรู้ ควรปฏิบัติ การสอนธรมแบบอบรม แนะนำ ตักเตือนให้รู้สึกผิดชอบชั่วดี การสอนธรรมแบบสั่งสอนหรืแบบพสอน การสอนแบบสนทนาธรรม คือ พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ทางธรรมแก่กันและกัน การสอนแบบถามตอบกันและกัน คือ ฝ่ายหนึ่งถาม ฝ่ายหนึ่งตอบ และการสอนธรรมด้วยการแสดงชี้แจงธรรมห้แจ่มแจ้งชัดเจน ทั้งนี้ ปัจจุบันพระสงได้ปรับปรุงรูปแบบการเผยแผ่พุทธธรรมให้เหมาะสมกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เช่น การปรับเป็นรูปแบบการเทศน์ การปาฐกถาธรม การอภิปรายธรรม การสนทนาธรรม การสอนสมถกรรมฐานหรือวิปัสสนากรรมฐาน การใช้สื่อและอุปกณ์ประกอบการสอนธรรม การเทศน์มหาชาติหรือการเทศน์แหล่ การเทศน์ปุจฉา-วิสัชนาการสอนพุทธศาสนาในโรเรียน การเป็นพิธีกรรายการ การเขียนบทความทางวิทยุและโทรทัศน์การเขียนบทความลงวารสารหรือหนังสือพิมพ์ การเป็นมัคคุเทศก์ การเป็นครู อาจารย์ หรือวิทยากรการจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ และการสอนธรรมผ่านกิจกรรมสภาพปัญหาของรูปแบบและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ไทยในปัจจุบัน ๔ข้อ ได้แก่ ปัญหาด้านนโยบายการเผยแผ่ โดยคณะสงฆ์ไม่มีการระดมความคิดร่วมกันจากพระสงฆ์ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ทำให้นโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ปัญหาด้านบุคลากร โดยในวัดที่มีกิจกรรมการเผยแผ่พระพุทะศาสนานั้น ขาดแคลนบุคลากรจำนวนมากโดยไม่มีกรสร้งบุคลากรทแทนบุคลากรที่ขาดหายไป นอกจากนี้ พระสงฆ์ที่ทำหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีปัญหาด้านทักษะในการเผยแผ่ด้วยเช่นกัน ปัญหาด้านรูปแบบวิธีการที่ใช้ในการเผยแผ่ ไม่สอดคล้องกับค่านิยมและไม่ตรงตาความต้องการของสังคมปัจจุบัน และปัญหาด้านสื่อที่ไม่ทันสมัยและขาดประสิทธิภาพในการสื่อสารการพัฒนารูปแบบและวิธีการเผยแผ่เชิงรุกของคณะสงฆ์ไทย ผู้วิจัยเสนอการพัฒนารูปแบบการเผยแผ่ โดยเสนอให้มีการจัดตั้งศูนย์การเผยแผ่ธรรมะ ๓ ศูนย์หลัก ประกอบด้วย ศูนย์วิชาการ มีหน้าที่รวบรวมและพัฒนข้อมูล ให้บริการข้อมูลด้านพระไตรปิฎก ประวัติพระสาวก เป็นต้น รวมทั้งจัดการฝึกอบรมวิชการเผยแผ่แก่พระสงฆ์ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ศูนย์ปฏิบัติการเชิงเครือข่าย เป็นศูนย์พัฒนหลักการปฏิบัติในลักษณะเครือข่ายบุคลากรด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยเป็นศูนย์รวมบุคลากรด้านปฏิบัติกรที่มีคุณภาพด้านการเผยแผ่ธรรมะอย่างถูกวิธี และปฏิบัติการเชิงรุกในการเผยแผ่ธรมะสู่ประชาช และศูนย์วิทยาการด้านสื่อ เป็นศูนย์พัฒนารูปแบบและวิธีการเผยแผ่ธรรมะในรูปแบบของสื่อต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเผยแผ่พุทธธรรม โดยจัดตั้งเป็นศูนย์ประจำจังหวัด และอำเภอ รวมทั้งป็นศูนย์การสื่อสาร ระหว่างคณะสงฆ์กับคณะสงฆ์ระหว่างคณะสงฆ์กับพุทธบริษัท ระหว่างคณะสฆ์กับรัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผลิตสื่อธรรมะทุกชนิดออกผยแผ่แก่ประชาชน เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งวัด พระสงฆ์ ได้นำสื่อไปประยุกต์ใช้ได้เพื่อการเผยแผ่พุทธธรรมตามความเหมาะสมต่อไป

References

Faculty of Management Science, Phetchaburi Rajabhat University. Management
Science Journal. Phetchaburi Province: Phetchaburi Rajabhat University.
B.E. 2551.
Khun Tohkhun. Buddhism in Daily Life. Bangkok: O.S.Printing House. B.E. 2537.
Munkiet Kosolniratwongse. Buddhism: Theory and Consulting Techniques.
Bangkok: Siwiriyasarn. B.E.2541.
Nattaya Kaewsai. A Study of Thammaguy Temple's Role in Using Information
Technology For Worldwide Buddhism Propagation. Bangkok: Office of the
National Culture Commission. B.E. 2542.
Nikamanon, Patom. The Implication of Buddhist Thoughts and Practices for
Adult Education : Focus on Thailand. University of Manchester, England,
1977.
Pannudda Noppanawan. A Study of Communication Process for Buddhism
Propagation in Thai Sangha Institutes. Master of Buddhism Science.
Bangkok: Mahachulalongkornrachawitayalai University. B.E. 2533.
Phramaha Bunjob Thiwongso (Sripaengmon). A Study of Roles and Performance
in Buddhism Propagation of Phrakrusutasarnpimol. Master of Buddhism
Studies. Bangkok: Mahachulalongkornrachawitayalai University. B.E. 2549..
Phrapornchai Kontasaro (Kaewwichien). Buddhism Propagation Strategy. Master of
Liberal Arts. Bangkok: Mahachulalongkornrachawitayalai University. B.E.
Phrarachapatipan. The Sermon Science. Bangkok: Wung-aksorn. B.E. 2557.
Saman Ngamsanit. Components of Communication for Buddhism Approach.
(copy version). Mahachulalongkornrachawitayalai University. B.E. 2542.
2550.
Sanit Srisumdaeng. Buddhism and Education. Bangkok: Mahachulalongkornrachawitayalai
University. B.E. 2547.
Sanya Sanyawiwat. Sociology. Bangkok: Chulalongkorn University, 8h edtion. B.E,2543.

Downloads

Published

2016-04-20

How to Cite

กลิ่นจันทร์ ส., Kaewses, P. . ., & Phrarachworamethee. (2016). การเผยแผ่พระพุทธศาสนา : การพัฒนารูปแบบและวิธีการเชิงรุกของคณะสงฆ์ไทย. Journal of MCU Social Science Review, 5(1), 205–216. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245356