เรือนชั้นใน - ชั้นนอก พุทธธรรมสำหรับชายหนุ่มหญิงสาวผู้ออกเรือน

ผู้แต่ง

  • พระมหานิกร ฐานุตฺตโร วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม
  • พระเมธีธรรมาจารย์ จนฺทสาโร วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

คำสำคัญ:

พุทธธรรม, ผู้ออกเรือน, ปิ่น มุทุกันต์

บทคัดย่อ

เมื่อกล่าวถึงผู้แต่งคือ ท่าน “พ.อ.ปิ่น มุทุกันต์” ในความเป็นสากลของท่านผู้เขียนคิดว่าทุกคนรู้จักกันดีในสายวิชาการหรือด้านการทหารที่เคยบวชเรียนเขียนอ่านเป็นมหาเปรียญมา ท่านมีผลงานวิชาการมากมายที่ตีพิมพ์หนังสือตำรับตำราให้สังคมได้อ่านมากมายจนจำไม่ได้และหนังสือเล่มนี้ก็เป็นไปดั่งที่เคยมีการนำเสนอในส่วนที่เป็นวิชาการผสมผสานทั้งการนำหลักอ้างอิงจากคัมภีร์พระไตรปิฎกมาประกอบกับการการใช้คำสมัยใหม่ เหมาะแก่ประชาชนทั่วไปได้อ่านและเข้าถึงได้ค่อนข้างดี ซึ่งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันสำหรับผู้ครองเรือนได้ แต่สำหรับพระสงฆ์ถือว่าไม่มีเรือน คงได้แต่รู้ไว้ใช่ใสบ่าแบกหาม ได้นำไปใประกอบการเทศสนาสอนญาติโยม เหมือนประโยคที่ว่า“รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง”เป็นประโยคที่คุ้นหูกันดี ซึ่งเป็นข้อคิดเชิงปรัชญาจากซุนวู แสดงให้เห็นว่าเรื่องการครองเรือนนั้นมีประโยชน์สำหรับผู้ที่จะครองเรือน และผู้ที่ยังไม่ได้ครองเรือน

References

ธีระพงษ์ มีไธสง. (2560). พระสงฆ์กับองค์เจ้าในการปฏิรูปหัวเมืองอีสานผ่านกลไกอำนาจรัฐ. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 34(3), 288-309.

ปิ่น มุทุกันต์, พ.อ.. (2544). เรือนชั้นใน - เรือนชั้นนอก หลักพุทธธรรมสำหรับชายหนุ่มหญิงสาวผู้ออกเรือน. กรุงเทพฯ: บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์.

________. (2512). วิธีพูดของข้าพเจ้า. พระนคร: แพร่วิทยา.

________. (2515). คำพระ. พระนคร: แพร่วิทยา.

________. (2549). มงคลชีวิต. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

________. (2545). บูชาคนที่ควรบูชา: ธรรมะตามสมัยนิยม. ชลบุรี: กองทุนวิทยาทาน วัดเขาพุทธโคดม.

พรรณราย เรือนอินทร์. (2562). ‘พันเอก ปิ่น มุทุกันต์’ จากลูกอีสานสู่นักรบ ผู้ปกป้องพุทธศาสนายุคสงครามเย็น. หน้าประชาชื่น มติชนรายวัน. สืบค้น 18 กันยายน 2562, จากhttps://www.matichon.co.th/prachachuen/prachachuenscoop/news_1675437

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: พุทธธรรม.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิราวรรณ นฤปติ. (2562). พระพุทธศาสนาภาคอีสาน ในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนถึงยุคสงครามเย็น. สืบค้น 18 กันยายน 2562, จาก https://www.matichon.co.th /prachachuen/prachachuenscoop/news_1675437

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-03-27

How to Cite

ฐานุตฺตโร พ., & จนฺทสาโร พ. (2020). เรือนชั้นใน - ชั้นนอก พุทธธรรมสำหรับชายหนุ่มหญิงสาวผู้ออกเรือน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 304–314. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/240908