ANIMAL FARM: REVOLUTIONARY SOCIAL CLASS TOWARDS LIBERALISM, EQUALITY AND PEACE

Authors

  • พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย) และคณะ

Keywords:

การปฏิวัติชั้นทางสังคมสู่เสรีนิยม,ความเสมอภาค,ความสงบสุข

Abstract

แอนิมอลฟาร์ม วรรณกรรมเรื่องเยี่ยมที่ถูกกล่าวถึงว่าเป็นหนังสือที่ดีที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20 ถูกแปลในภาคภาษาไทยจำนวนหลายครั้ง โดยฉบับที่นำมาเป็น Books Review ก็เป็นการแปลอีกครั้งในช่วงพุทธศักราช

          หนังสือที่ถูกแต่งโดย จอร์จ ออเวล ที่สะท้อนแนวคิดวัฒนธรรมทางการเมือง ในประเทศรัสเซีย ผ่านสถานการณ์บรรดาสัตว์ต่าง ๆ ที่ปรากฏใน Animal Farm ที่ต่อสู้ปฏิวัติกับคนที่เป็นเจ้าของฟาร์ม พร้อมนำไปสู่การปฏิวัติและพัฒนา แต่ทุกอย่างเกิดขึ้นภายใต้ “...การคอรัปชั่น เบี่ยงประเด็น พวกพ้อง ชนชั้น ผู้ปกครอง ผู้ถูกปกครอง ข่มขวัญ เสแสร้ง สร้างภาพ กดขี่ หลอกลวง ข่มขู่ หลอกใช้ เอารัดเอาเปรียบ ปั่นกระแส ปั้นเรื่อง แปลงสาร สาดโคลน ใส่ความ อุ้มฆ่า และตัดตอน ลับลวงพราง...” ซึ่งทั้งหมดเป็นเรื่องเล่าผ่านบรรดาสัตว์นานาชนิดใน Animal Farm

References

Khomduen Phothisuwan (2017). George Orwell’s Animal Farm: The Weaknesses of the Windmill Plan in a Self-Sufficient Farm. International Humanities, Social Sciences and Arts. 10 (4) : ( January - June 2017) : 238-253.
Khomduen Phothisuwan, Prapaipan Aimchoo. (2016). Knowledge: A Sufficiency Economy Condition Obstructed in George Orwell’s Animal Farm. KKU International Journal of Humanities and Social Sciences. 6 (2) : 48-62.

Published

2018-12-22

How to Cite

และคณะ พ. (โชว์ ท. (2018). ANIMAL FARM: REVOLUTIONARY SOCIAL CLASS TOWARDS LIBERALISM, EQUALITY AND PEACE. Journal of MCU Social Science Review, 7(4), 294–207. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/161924