ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

Main Article Content

สากอน พอนปะเสิด
มาลี ไชยเสนา
นิศานาจ โสภาพล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาสภาพการพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) พัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 3) เพื่อประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มเป้าหมาย ระยะที่ 1 คือ ผู้บริหารบุคลากรในแขนงการเศรษฐกิจ ที่มีส่วนในการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ แขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 70 คน ระยะที่ 2 คือ ผู้เชี่ยวชาญ 12 คน ได้แก่ ผู้บริหาร 4 คน นักวิชาการ 4 คน ตัวแทนบุคลากร 4 คน ระยะที่ 3 คือ ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา


ผลการวิจัย พบว่า สภาพการพัฒนาเศรษฐกิจ ของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือด้านสภาพแวดล้อมภายใน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ด้านผลจากการดำเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม แนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประกอบด้วย 7 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเกษตรเพื่อยังชีพสู่อุตสาหกรรมเพื่อส่งออก ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาแขวงเซกอง ให้กายเป็นแขวงแห่งการค้าการ และการลงทุน (The Province of FDI) ยุทธศาสตร์ที่3 การส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปเป็นสินค้าเพื่อการบริโภคภายใน และการส่งออก ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมการท่องเที่ยวครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาแขวงเซกองจากแของที่เป็น land lock สู่ แขวง land link ยุทธศาสตร์ที่ 6 การคุ้มครองงบประมาณมุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผลและยุทธศาสตร์ที่ 7 การรักษาสิ่งแวดล้อม ให้มีความสมดูล และลดความเสี่ยงภัยทางธรรมชาติ ผลการประเมินยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จากผู้เชี่ยวชาญมีความเป็นไปได้ในระดับมาก มีความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ในระดับมากที่สุดทั้ง 7 ยุทธศาสตร์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Basile, R. (2001). Export Behaviour of Italian Manufacturing Firms Over the Nineties: The Role of Innovation. Research Policy, 30(8), 1185-1201.

Boonyapongchai, S. (2019). The Study of Thailand’s Economic Growth by Private Investment. Academic Journal Bangkokthonburi University, 8(1), 209-219.

Bulakul, C. (2013). Understand the Way of "Green Agriculture" Through Tourism at Farm Chokchai. Journal of Business, Innovation and Sustainability, 8(1), 14-16.

Charoenpananyaying, S., & Dachparot, T. (2018). The potential of Ubon Ratchathani Province Border Trade and Transport to Tune the Country into AEC. Retrieved May 3, 2023, from http://www.cuti.chula.ac.th/wp-content/uploads/2020/07/ubol.pdf

Duangyam, T. (2012). The Process of Strengthening the Pong Nam Ron Farmers Group that Received the National Outstanding Farmer Award in 2019, Fang District, Chiang Mai Province. (Master's Thesis). Chiang Mai University. Chiang Mai.

Hatthakam, R. et al. (2012). Gross Happiness Components and Indicators Development of Community Based Tourism Management. Interdisciplinary Management Journal, 1(1), 99-108.

Kotler, P. (1997). Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation and Control. (5th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Kulavijit, B. (2017). Personal Media and Agriculture 4.0 Promotion. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(3), 2440-2454.

Maneechoti, S., & Athinuwat, D. (2019). Success Impacts on Organic Farming in Small Farmer Community in Nakhon Sawan Province. Thai Journal of Science and Technology, 8(6), 596-608.

Ministry of Planning and Investment. (2021). According to the 9th National Economic and Social Development Plan. (2021-2025). Bangkok: Lao People's Democratic Republic: Planning and Investment Department.

Ratchakot, K. (2009). Politics and Governance of Thailand. Bangkok: Saha Thammik.

Sangkhasuk, R., Naklungka, K., Ekaphon, W., & Surasawadee, W. (2017). Development of E-commerce Channel among Community Enterprises Network. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences), 12(1), 38-49.

Srathongpang, P., Si-niang, P., Khammanee, K., & Thang-ngern, J. (2018). Consumer Behavior in Buying Organic Products in Sukjai Market, Sampran District, Nakhon Pathom Province. Journal of Science and Technology, Ubon Ratchathani University, 20(2), 185-192.

Thalerngpol, R. (2014) The Strategic Development in Human Resource Management of the State Railway of Thailand. (Master's Thesis) Silpakorn University. Bangkok.

Thitiphattra, K., & Kunphoommarl, M. (2010). Public Participation in Community Based Disaster Management Case Study: Tambon Chompoo, Amphur Muang, Phitsanulok Province. Retrieved April 6, 2023, from http://www.social.nu.ac.th/th/IS2553.php

Zhou, K. Z., & Li, C. B. (2010) . How Strategic Orientations Influence the Building of Dynamic Capability in Emerging Economies. Journal of Business Research, 63, 224-231.