กฎของธรรมชาติในมุมมองของพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์

Main Article Content

พระมหามิตร ฐิตปญฺโญ
จันทร์ศิริ พลอยงาม
กิตติคุณ แก้วภิรมย์

บทคัดย่อ

พระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์นั้นเป็นการทำความเข้าใจในเรื่องเดียวกันคือ 'ธรรมชาติและกฎของธรรมชาติ' ทั้งพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ให้การยอมรับในธรรมชาติและกฎของธรรมชาติ เช่นเดียวกัน แต่พระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ให้ความสำคัญและมุ่งเน้นในเรื่องที่แตกต่างกัน ในขณะที่พระพุทธศาสนาให้ความสำคัญและมุ่งเน้นในเรื่องธรรมชาติภายใน [ธรรมชาติของจิต เพื่อนำไปสู่ความรู้และความเข้าใจในเรื่องของชีวิตความทุกข์และการดับทุกข์ ส่วนวิทยาศาสตร์ให้ความสำคัญและมุ่งเน้นในเรื่องธรรมชาติภายนอก (วัตถุสสารพลังงาน จักรวาล และสิ่งที่เป็นรูปธรรมต่างๆ) อย่างไรก็ตามพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์นั้น มุ่งการค้นหาความรู้เพื่อนำไปความเข้าใจในธรรมชาติในเรื่องนั้นและการมีอยู่ของสิ่งนั้นๆ หรือนำสิ่งที่มีอยู่นั้นมาใช้ประโยชน์ การยอมรับในธรรมชาติ และกฎของธรรมชาตินั้นเป็นคำสอนที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา คำสอนเกี่ยวกับธรรมชาติทางพระพุทธศาสนามีปรากฏปรากฏชัดว่า พระพุทธเจ้าจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ตามกฎของธรรมชาติและความเป็นไปตามกฎของธรรมชาตินั้นก็ยังคงมีอยู่ กฎของธรรมชาติที่มีการดำเนินไป พระพุทธเจ้าทรงแนะนำแนวทางในการปฏิบัติให้สอดคล้องกันธรรมชาติ ที่มากกว่านั้น ก็เพื่อให้มนุษยชาติให้เข้าใจในผลของการปฏิบัติต่อธรรมชาติ จึงเห็นว่าการยอมรับในธรรมชาติ และกฎของธรรมชาตินั้นเป็นคำสอนที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา คำสอนเกี่ยวกับธรรมชาติทางพระพุทธศาสนามีปรากฏปรากฏชัดว่า พระพุทธเจ้าจะเกิดขึ้นหรือไม่ก็ตาม กฎของธรรมชาติและความเป็นไปตามกฎของธรรมชาตินั้นก็ยังคงมีอยู่ กฎของธรรมชาติที่มีการดำเนินไป ทรงแนะแนวทางในการปฏิบัติให้สอดคล้องกันธรรมที่มากกว่านั้นก็เพื่อให้มนุษยชาติให้เข้าใจในผลของการปฏิบัติต่อธรรมชาติ 

Article Details

How to Cite
ฐิตปญฺโญ พ. ., พลอยงาม จ. ., & แก้วภิรมย์ ก. . . (2024). กฎของธรรมชาติในมุมมองของพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 12(1), 393–401. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/267530
บท
บทความวิชาการ

References

Bannaruji, B. (2002). Paṭiccasamuppāda. Bangkok: Pornboon Printing.

Buddhadasa Bhikkhu. (2002). Idappaccayatā. Bangkok: Arunvithaya.

Einstein, A. (1921). Relativity: The Special & the General Theory, Tr. R. W. Lawson. London: Methuen & Co., LTD.

Einstein, A. (1988). “E = mc2” in Albert Einstein, Ideas and Opinions. New York: Bananza Books.

Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST). (2003). Organization of Learning Basic Education Curriculum Science Group. Bangkok: The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology.

Kaku, M. & Trainer, J. (1987). Beyond Einstein: The Cosmic Quest for the Theory of the Universe. New York: Bantam.

Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tripitakas. Bangkok: MCU Press.

Michelson, A. A., & Morley, E. W. (1887). On the Relative Motion of the Earth and the Luminiferous Ether. American Journal of Science, 34, 333-345.

Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto). (2009). Buddha Dharma. Bangkok: MCU Press.

Phra Dhammapitaka (P.A. Payutto). (1999). Thotsawat Thammathat Phra Thammapidok Science and Technology Division. Bangkok: Thammasapa.

Promta, S. (1997). Buddhism and Science. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Thongpraset, Ch. (1966). Logic: The Art of Defining and Reasoning. Bangkok: Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.

Williams, L. P. (1933). “Science, the History of” in the New Encyclopaedia Britannica (Vol. 27, pp. 32-42). In McHenry, R. (Ed.). 15th Edition. Chicago: Encyclopaedia Britannica Inc.

Wittawet, W. (2010). Pratchayathat: Buddhist Philosophy. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.