รูปแบบการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในศตวรรษที่ 21 3) เพื่อเสนอรูปแบบการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างจำนวน 265 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เชิงคุณภาพสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 20 รูป/คน
ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้ง 5 ด้าน ด้านที่อยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรเชิงพุทธบูรณาการ 2) พัฒนารูปแบบการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ พัฒนาสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 3) เสนอรูปแบบการพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ส่วนนำ คือ สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เหมาะสม ส่วนที่ 2 ตัวแบบ คือ ระบบงาน ได้แก่ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฯ ระยะที่ 12 ใน 5 ด้าน ส่วนที่ 3 ขั้นตอนการนำไปใช้ คือ โครงสร้างการบริหารการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แนวทางการประเมิน โดยประเมินตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยฯ ระยะที่ 12 ส่วนที่ 4 เงื่อนไขความสำเร็จ ให้เป็นไปตามนโยบายและสอดคล้องกับ IP MCU Model
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Akakul, T. (2000). Research Methods in Behavioral Sciences and Social Sciences. Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani Rajabhat Institute.
Educational Statisics (2020). Retrieved August 3, 2020, from http://www.info.mua.go.th
Hanpanich, B. (2003). A Development of the Knowledge Management Models in Thai Highereducation Institutions. (Doctoral Dissertation). Chulalongkorn University. Bangkok.
Katchwattana, P. (2019). 3 World-Leading Universities Pointing out That 'the Way to Survive the University in the 21st Century Must Hold Hands with Establishments Tighter than Before. Retrieved August 3, 2020, from https://www.salika.co/2019/ 02/01/worldclass-university-suggestion-21st-century/
Kulratanarak, L. (2004). A Study of the University Experience of Chulalongkorn University Students According to the Student's Perception Framework. (Master’s Thesis). Srinakharinwirot University. Bangkok.
Mahachulalongkornrajavidyalaya Universiry (2017). Development Plan of Mahachula longkornrajavidyalaya University Phase 12 (B.E. 2560-2564). n.p.
Muangsong, K. (2007). Leadership Development Model Strategic Leadership of Basic Education Administrators. (Master’s Thesis). Burapha University. Chon Buri.
Phra Surachai Surajayo (2017). The Development of Educational Quality Assurance
Phramaha Sutas Tissaravadhi et al. (2014). The Action of Thai Qualifications Framework for Higher Education: Problems Barrier Adjustment and Improvement. (Research Report). Ayutthaya: Buddhist Research Institute of MCU.
Sasin Graduate Institute Administration (2013). Determining Guidelines for Developing Thai Education and Preparing for the 21st Century. (Research Report). Bangkok: Office of the Educational Council.
Viriyavejakul, A. (1999). Lifelong Learning Course. In a Collection of Academic Articles on Higher Education: 1999. Accompanied by Academic Seminars on Higher Education in the 21st Century. Bangkok: PrintPro.