รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

ศิริพงษ์ กลั่นไพฑูรย์
จิติมา วรรณศรี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างและตรวจสอบการพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 3) ประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสัมภาษณ์ ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน    


ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล องค์ประกอบที่ 2 วิธีพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล และปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) การสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล องค์ประกอบที่ 2 วิธีพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล และปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และการตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่ารูปแบบมีความเหมาะสม 3) การประเมินรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานความเป็นประโยชน์และความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ พบว่า รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลมีความเป็นประโยชน์อยู่ระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}  = 4.61) และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}  = 4.56)


 

Article Details

How to Cite
กลั่นไพฑูรย์ ศ., & วรรณศรี จ. . (2023). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 11(2), 478–482. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/255069
บท
บทความวิจัย

References

Amdonkloy, S. (2013). The Role of Educational Institution Administrators in the 21st Century. Graduate Studies Journal Phibunsongkhram Rajabhat University, 7(1), 1-7.

Chamchoi, S. (2019). Educational Administration in the Digital Era. Bangkok: Publishers of Chulalongkorn University.

Chansah, T. (2017). Policy Development for the Development of Administrators of Basic Education Institutions to Professional Standards of Educational Institution Administrators of Phayao Primary Educational Service Area Office, District 1. (Doctoral Dissertation). Chiang Rai Rajabhat University. Chiang Rai.

Jennings, C., & Wargnier, J. (2015). Effective Learning with 70:20:10: The New Frontier for the Extended Enterprise. Retrieved August 1, 2020, from http://www.crossknowledge.net/crossknowledge/whitepapers/effective-learning-with-70-20-10-whitepaper.pdf

Kreethapol, T. (2017). The Model of Ethical Leadership Development of Educational Institution Administrators under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Areas 1-7. (Doctoral Dissertation). Nakhon Ratchasima Rajabhat University. Nakhon Ratchasima.

Maneewan, T. (2020). Model of Academic Leadership Development of Educational Institution Administrators Fundamentals of the Digital Age. (Doctoral Dissertation). Ubon Ratchathani Rajabhat University. Ubon Ratchathani.

Office of the National Economic and Social Development Board. (2017). The Twelfth National Economic and Social Development Plan. Bangkok: Office of the National Economic and Social Development Board.

Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. (2016). Government Action Plan for Fiscal Year 2017 of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. Bangkok: Office of Policy and Strategy.

Pakotang, J. (2018). Leadership in the Digital Age. For Professional School Administrators. (1st ed.). Ubon Ratchathani: Siritham Offset Publishing.

Paophan, C. (2016). Concepts and Basic Theories of Leadership of School Administrators in the 21st Century. Journal of Educational Administration Khon Kaen University, 12(1), 1-9.

Somprach, K. (2019). Leadership: Concepts, Theory and Development. Khon Kaen: Faculty of Education Khon Kaen University.

Wannasri, J. (2010). Academic Leadership of Educational Institution Administrators Education. Journal Naresuan University, 12(1), 35-48.

Wannasri, J. (2014). Academic Administration in Educational Institutions. Phitsanulok: Rattanasubanprint 3.

Wayne, M. R., & Mondy, J. B. (2014). Human Resource Management. (13th ed.). Retrieved August 1, 2019, from https://demmipeat.files.wordpress.com/2020/06/e-boek-pdf-xhrksschma-9378.pdf