บทบาทของพระพุทธศาสนาต่อวิถีชีวิต พิธีกรรม และความเชื่อของคนอีสาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา บทบาทของพระพุทธศาสนาต่อวิถีชีวิต พิธีกรรม และความเชื่อของ คนอีสาน พบว่า วิถีชีวิตของคนอีสานมีการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น เนื่องจากพิธีกรรมในสมัยโบราณ นิยมทำตามความเชื่อที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยมีความเชื่อว่า หากกระทำถูกต้องแล้วจะนำความสุขและความเป็นสิริมงคลมาให้แก่ตนเอง ครอบครัว และวงศ์ตระกูล ปัจจุบันยังคงยึดถือ สืบทอดต่อๆ กันมา ถือเป็นการรักษาเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และเป็นการเชื่อมโยงในเรื่องความเชื่อของคนในชาติที่มีความหลากหลายผสมผสานกัน พิธีกรรมที่คนไทยยึดถือปฏิบัติในโอกาสต่างๆ นั้น บางอย่างเป็นความเชื่อดั้งเดิมของท้องถิ่น บางอย่างเป็นความเชื่อเนื่องมาจากหลักปฏิบัติทางศาสนา ไม่ว่าจะเป็น ศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู หรือศาสนาอื่นๆ ที่ตนนับถือ วิถีชีวิต พิธีกรรม และความเชื่อ จึงเป็นวิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะศาสนา ชาวอีสานสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทยว่า ชาวอีสานให้ความสำคัญในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมที่งดงามเพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา ตั้งแต่โบราณกาล ได้แก่ 1. จารีตประเพณี หมายถึง สิ่งซึ่งสังคมใดสังคมหนึ่งยึดถือและปฏิบัติสืบกันมาอย่างต่อเนื่องและมั่นคง 2. ขนบประเพณี หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่สังคมได้กำหนดไว้แล้วปฏิบัติสืบต่อกันมา ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม 3. ธรรมเนียมประเพณี หมายถึง ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญที่ทุกคน ควรทำ ไม่มีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบประเพณีหรือความผิดถูกเหมือนจารีตประเพณี เป็นต้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Duangmanee, K. et al. (2018). A Study of the Cultural Identity of the Four Tribes in Sisaket Province. (Research Report). Ayutthaya: Buddhist Research Institute of MCU.
Isarapreeda, P. et al. (1975). Beliefs and Spiritual Attachments of Isan People. Mahasarakham: Srinakharinwirot University Mahasarakham.
Khamwansa, S. (1978). Isan, the Case in Respect of Folk Games. Bangkok: Faculty of Archaeology, Silpakorn University.
Mettariganon, D., & Sangkhachan, A. (2004). Survey of Basic Knowledge Status from Research on Social and Cultural lifestyles of Ethnic Groups in the Isan Region, 1968-2002. Khon Kaen: Klang Nana Wittaya Printing Factory Limited Partnership.
Mosikarat, T., & Thongprasert, C. (2000). "Religion and Rituals of Thailand". In the Teaching Document of Thai Case Studies, Units 8-15. (8th ed.). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat University.
Natsupha, C., & Lerwicha, P. (1998). Thai Village Culture. (2th ed.). Bangkok: Inventive.
Panthavee, M. (n.d.). Project for Organizing the Buddhist Lent Festival. Maha Sarakham: Northeastern Arts and Culture Research Institute.
Petchluen, S. et al. (2001). Complete Thai Isan Heritage. Khon Kaen: Khon Kaen Klang Nana Tham Co., Ltd.
Phrakhrunivitsinlakhan, Brahmakappa, A., & Nua-amnat, R. (2020). The Buddhist Culture and Local Wisdom Towards the Enhancement of Stability for Inexperienced Parents. Journal of MCU Peace Studies, 8(6), 2128-2137.
Phrapalhad Adisak Vajirapañño, Wattanapradith, K., & Satiman, U. (2020). Development on Model of Tourism Management in Sustainable and Peaceful Way: A Case Study of Wat Baan Khayung, Huaytamon Sub-district, Phusing District, Sisaket Province. Journal of MCU Peace Studies, 8(3), 841-854.
Pratoomkaew, S. et al. (2018). A Study of the Wisdom Blend Beliefs and Rituals of the Four Tribes in Sisaket Province. (Research Report). Ayutthaya: Buddhist Research Institute of MCU.
Punnotok, T. (1988). The Direction of Thai Villages. Bangkok: Charoen Printing.
Raksutthee, S. (2006). Heat Sip Sxng Khlong Sip Si. Bangkok: B.E. Development Co., Ltd.
Thammawat, J. (1997). Isan Folklore. Bangkok: Aksorn Wattana.