รูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Main Article Content

สุจรรยา คำไล้
ชวนคิด มะเสนะ
ไพวุฒิ ลังกา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีการวิจัย 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระยะที่ 3 ทดลองใช้รูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระยะที่ 4 ประเมินรูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา


ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มี 5 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 หลักการ องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ องค์ประกอบที่ 3 วิธีดำเนินการ  องค์ประกอบที่ 4 แนวทางการประเมิน และองค์ประกอบที่ 5 เงื่อนไขความสำเร็จ ผลการประเมินรูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ในภาพรวมทั้งด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด


 

Article Details

How to Cite
คำไล้ ส., มะเสนะ ช., & ลังกา ไ. (2022). รูปแบบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(3), 1243–1255. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/251985
บท
บทความวิจัย

References

Amornplang, P. (2013). An Effeient Model for the Early Childhood Education Administration in Private Educational Instututes. (Doctoral Dissertation). Ubon Ratchathani Rajabhat University. Ubon Ratchathani.

Asaphum, S. (2007). The path to educational quality and standards. Edition 8. Ubon Ratchatani: Ubon Kit Offset Printing House.

Department of Local Administration. (2019). National Early Childhood Development Institute. Bangkok: Chili Sweet Company.

Heckman, J. J. (2008) The Case for Investing in Disadvantaged Young Children. Mimeo University of Chicago.

Khophai, N. Model of Capacity Development in A Child Development Centers Under Local Government in Kalasin Province by Participation. (Doctoral Dissertation). Naresuan University. Phisanulok.

Karoon, W. (2020). The Model of the Early Childhood Educational Administration for Excellence of Provincial Kindergarten School. (Doctoral Dissertation). Ubon Ratchathani Rajabhat University. Ubon Ratchathani.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement.

Izumi, Lance T. (2002). They have overcome: High-Poverty, High-Performing schools in California (California: Pacific Research Inst.).

Masena, C. (2011). A Model of Pre-school Education Management Related to Brain Development. (Doctoral Dissertation). Ubon Ratchathani Rajabhat University. Ubon Ratchathani.

Ministry of Education. (2017). National Education Plan 2017-2036. Bangkok: Office of the Education Council Secretariat.

Monpianjan, C. (2011). A Holistic Approach to Early Childhood Educational Management in Sub-district Administrative Organizations: A Case Study of Dong Pong ECDC, Sila Sub-district Administrative Organization, Khon Kaen Province. (Doctoral Dissertation). Khon Kaen University. Khon Kaen.

Tinnarnach, C. (2017). Raising the Educational Standard of Tambol Nongwang Child Development Center in Prayuen District, Khon kaen Province. (Doctoral Dissertation). Mahamakut Buddhist University. Bangkok.

Wetherbe, Dock. (1998). Computer Information Systems for Business. St. Pual, MN: West.

Yuktawan, P. (2012). Kindergarten Education Model for Brain Development in Effective Learning. (Doctoral Dissertation). Ubon Ratchathani Rajabhat University. Ubon Ratchathani.