ยุทธศาสตร์การสร้างสันติสุขภาวะเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ: ศึกษากรณีตำบลสวาย อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

ชิดชนกสิทธิ์ วัฒนศิริธร
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษายุทธศาสตร์ บริบทชุมชนของผู้สูงอายุ และการสร้างสันติสุขภาวะตามนโยบายภาครัฐกับวิทยาการสมัยใหม่ 2) เพื่อศึกษาหลักการ และวิธีการสร้างสันติสุขภาวะตามพุทธวิธีในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อพัฒนาและนำเสนอยุทธศาสตร์การสร้างสันติสุขภาวะ เชิงพุทธบูรณาการสำหรับสังคมผู้สูงอายุ ตำบลสวาย อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นงานวิจัย เชิงคุณภาพแบบลงพื้นที่โดยการจัดสานเสวนาเชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบเจาะจงที่มีลักษณ์เฉพาะข้อมูลสำคัญในระดับลึกแล้วนำมาวิเคราะห์พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ยุทธศาสตร์ บริบทชุมชนของผู้สูงอายุ ตำบลสวาย และการสร้างสันติสุขภาวะตามนโยบายภาครัฐกับวิทยาการสมัยใหม่ที่ได้จากการวิจัย คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาสุขภาพกายฟื้นฟูสมรรถภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาพฤติกรรมและนันทนาการ และยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาสุขภาพจิต 2) หลักการ และวิธีการสร้างสันติสุขภาวะ แก่บุคคลสูงอายุตามพุทธวิธีในพระพุทธศาสนาเถรวาท พบว่า ไตรสิกขา คือ ศีล: ข้อปฏิบัติตามกฎหมายคุณธรรมจริยธรรมจารีตประเพณีอย่างมั่นคง สมาธิ: มีความตั้งใจแน่วแน่ และรู้จักปล่อยวางอย่างมั่นคั่งในจิตใจ ปัญญา: ความรู้เข้าใจรอบรู้รู้เท่าทันอย่างยั่งยืน จากการวิจัยไตรสิกขา จึงได้ปรัชญา คือ “แข็งแรงสมวัย จิตใจเข้มแข็ง ปัญญาเบิกบาน” 3) เมื่อนำยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ด้าน กับหลักไตรสิกขามาบูรณาการจึงได้ผลดังนี้ ด้านที่ 1 สุขภาพ ด้านที่ 2 ความยั่งยืน ด้านที่ 3 ความมั่งคง และด้านที่ 4 ความสุข โดยยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ด้านนี้ อยู่ภายใต้เป้าประสงค์ใหญ่ คือ Happiness Goals (เป้าหมายแห่งความสุขอย่างสันติ)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Boonruang, P. (2006). Sustainable Human Resource Development in accordance with Buddhism. (Master’s Thesis). Department of Social Sciences for Development. Rajabhat Chiang Rai University. Chiang Rai.

Department of Older Persons Ministry of Social Development and Human Security. (2019). Measures to drive the national agenda on the aging society (Revised version). (2th ed.). Bangkok: Amarin Printing and Publishing Public Company Limited.

Government Gazette. (2018). National Strategy (B.E. 2018-2037). Retrieved May 3, 2019, from http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDF

Katekinta, K. (1998). The Elderlys Qualily of Life in Home for the Aged in Bangkok. (Master’s Thesis). Kasetsart University. Bangkok.

Kijboonchu, L. (2002). Aging and the status and roles of the elderly in the Songkhla community Case Study of Ban Noen Wa, Kong Subdistrict, Kong Krailas District Sukhothai Province. (Master’s Thesis). Silpakorn University. Bangkok.

Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tripitakas. Bangkok: MCU Press.

Pheatrasuwan, S. (1999). Health Needs of the Elderly: A Case Study of Rayong Province. (Master’s Thesis). Population Studies. Mahidol University. Bangkok.

Phrabrahmagunabhorn, (P.A. Piyutto). (2006). Buddhist holistic well-being. (5th ed). Bangkok: Dharma in Trend.

Phradhammapitaka, (P.A. Payutto). (2003). Suffering for seeing but happiness for being (Essence of Buddhism). (9th ed.). Bangkok: Thammasarn Co., Ltd.

Phradharmmasinghaburachan, (Charan Thitthamo). (2004). Life Security Every breath takes advantage of time. Bangkok: Banluetham Institute, Nopparatham.

Pruittipinyo, C., & Sirichotiratana, N. (2015). Law and Policy Review on the Elderly into health management. Journal of Health Law and Public Health, 1(2), 119-134.

San-sanguan, S. (2010). Policy on Aging Society: Lessons from Japan and Korea. Journal of Japanese Studies, 26(2), 55-70.

Somdetphrabuddhakosajarn, (P.A. Payutto). (2017). If to be the elderly Should be an elderly person. Nakhon Pathom: Wat Yan Time of the Day of the Praise Somdet Phra Phutthakosachan (P.A. Payutto) is the National Elder.

Thanadirek, R. (2020). The National Committee on Older Persons. Bangkok: Office of the Prime Minister.