รูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการบริโภคอุปโภคแบบครบวงจรโดยการมีส่วนร่วมภาคประชาชนเพื่อชุมชนสันติสุข : กรณีศึกษา อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทพื้นฐาน สภาพปัจจุบัน ปัญหา อุปสรรคการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภคใน อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ๒) เพื่อศึกษาหลักการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคแบบครบวงจรโดยการมีส่วนร่วมภาคประชาชนตามหลักพุทธสันติ ๓) เพื่อเสนอรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคแบบครบวงจรโดยการมีส่วนร่วมภาคประชาชนเพื่อชุมชนสันติ ใช้รูปแบบวิจัยเชิงคุณภาพแบบมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลจากเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง11 ท่าน รับรองโมเดลด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ 7 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า
1) สภาพปัจจุบัน ปัญหา อุปสรรคการบริหารทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ในอำเภอถลาง มีสาเหตุมาจากแหล่งทรัพยากรต้นน้ำธรรมชาติสำหรับผลิตน้ำประปาเกิด ขาดแคลนน้ำอย่างหนัก การผลิตน้ำประปาไม่พอ ให้บริการต่อประชาชน
2) หลักการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคแบบครบวงจร ประกอบด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ 3ส่วน 1) การบริหารจัดการเชิงคุณภาพ ด้วยวงจรเดมมิ่งส์ 2) หลักการมีส่วนร่วม 3)หลักพุทธสันติ เพื่อจัดการทรัพยากรน้ำทั้งระบบ คือ ทรัพยากรต้นน้ำ การจัดสรรน้ำภาพรวม การผลิตน้ำประปา การผลิตน้ำมาตรฐานดื่มได้ การบริการน้ำประปาแก่ประชาชน และ การบำบัดน้ำเสีย
3) รูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคแบบครบวงจร คือการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ อย่างมีส่วนร่วม ด้วยหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม สำหรับวงจร 6 ขั้นคือ 1) การบริหารทรัพยากรต้นน้ำ 2) การบริหารการจัดสรรน้ำ 3) การผลิตน้ำประปา 4) การผลิตน้ำประปาดื่มได้ตามมาตรฐาน UF 5) การบริหารจัดการบริการน้ำประปาสู่ประชาชน 6) การบริหารจัดการบำบัดน้ำเสีย ตามโมเดล 3P RAPUSE
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Balsong, W. (2021). Summary for water management research strategy executives (2012-2016). Retrieved May 3, 2021, from http://www.research.nu.ac.th/th/uploads/files/Gov%20Budget%2061/3.pdf
Buapradit, C. (2020). Chief of Adviser. Andaman Water Company. Interview. February, 12.
Childsinsorn, S., & Jew, U. (2019). Director of Phuket water supply &, Head of Local Pipe water productive, Meeting report on December. Retrieved August 1, 2020, from http://Thainews.prd.go.th/th/news/detail.
Insorn, W. (2019). Environmental governance in industrial plants. Retrieved May 3, 2021, from http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=1136§ion=30&issues=78
Kaow Sa-ad, M. et al. (2020). The water supplement of Thailand Project- sect 1. The office of research support. Retrieved August 1, 2020, from http://www.wqm.go.th/water/images/stories/domestic/2555/55.05.pdf.
Office of the National Water Resources. (2016). Strategy for Researching subline of Water management (Research Report). Bangkok: Office of the National Water Resources.
Office of the National Water Resources. (2016). The strategic Plan of water management. Retrieved August 1, 2020, from http://www.onwr.go.th/wp-content/uploads/2019/09แผนแมQบทฯน้ำ20-ปù-A4-Final.pdf
Talang Distric Office. (2013). Development project of leader’s competency of Thalang. Retrieved August 1, 2020, from http://Phuket.edd.go.th.
United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific. (2020). What is Good Governance. Bangkok: United Nations publication.
Weiss, G. T. (2000). Good Governance and Global Conceptual and Actual Challenges. London: Third World Quarterly.
World Bank. (1992). Governance and Development. Washington D.C: The World Bank.