ต้นแบบการสื่อสารออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กเพื่อส่งเสริมสันติภาพของพระสงฆ์ไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
สภาพปัญหาการสื่อสารออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กของพระสงฆ์ไทยบางส่วนในยุคปัจจุบัน มีเนื้อหาขัดต่อหลักวาจาสุภาษิต ใช้เฟกนิวส์ ก่อให้เกิดความเกลียดชัง ใช้คำหยาบ โพสต์แบบฆราวาสวิสัย สาเหตุเกิดจากขาดสติไม่ปรับทัศนคติกรอบความคิดเท่าทันสถานการณ์ ไม่เปลี่ยนแปลงองค์ความรู้รองรับสื่อใหม่ ไม่พัฒนาทักษะประกอบเนื้อหา ไม่สร้างเครือข่ายทำงานเป็นทีม ดังนั้นพระสงฆ์จึงต้องปรับทัศนคติแสวงหาองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับทฤษฎีการสื่อสาร ทั้งทฤษฎี SMCR ของ เดวิด เค. เบอร์โล ทฤษฎี 5W1H ของ ฮาโรลด์ ลาสแวลล์ ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อสันติภาพ “4N” ของ โยฮัล กันตุง และทฤษฎีการสื่อสารเพื่อสันติ “NVC” ของ มาร์แชล โรเซนเบิร์ก พร้อมนำ หลักพุทธสันติวิธีคือ “วาจาสุภาษิต” ใช้ประกอบเสริมด้วยหลักธรรมทั้งเมตตา กรุณา ขันติธรรม โดยมีสติเป็นฐานวิเคราะห์ประเมินตัวเองและผู้รับสารด้วยหลักโยนิโสมนสิการ สังเกตข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความต้องการ ประกอบสารที่มีเนื้อหาจริง ไพเราะ เหมาะกาล ประสานผลประโยชน์ รวมถึงหลัก “4N” และ“NVC” ออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสม แล้วส่งในเชิงขอร้อง จึงจะทำให้การสื่อสารออนไลน์เกิดสติสุขสากล เช่น พระพรหมบัณฑิตที่เป็นพระสงฆ์ไทยที่มีสติเป็นฐานแห่งเมตตาและปัญญาในการทำหน้าที่เผยแผ่ธรรม เป็นนักบริหารที่สนับสนุนและวางรากฐานของการการสื่อออนไลน์เพื่อส่งเสริมสันติภาพ โดยมีความรู้ความใจเกี่ยวกับทฤษฎีการสื่อสารดี มีทักษะในการจับประเด็นตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนำมาประกอบในการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจในเนื้อหา สั้น กระชับ ง่ายต่อความเข้าใจของผู้รับสาร และมีทีมงานที่ดี ที่ควรคือเป็นต้นแบบการสื่อสารออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กเพื่อส่งเสริมสันติภาพ
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Buamai, T. (2017). Facebook utilization of Thai Buddhist monks. Retrieved October 7, 2017, from https://www.tci-thaijo.org/index.php/journal-la/article/view/93422>.
PrhaBrahmapundit (Prayoon Dhammacitto). (2020). Organixe discussing the digital victim north. Retrieved February 22, 2020, from http://www.banmuang.co.th/news/education/89899>.
Phra Brahmapundit (Prayoon Dhammacitto). (2020).Opened the “Brahma Bundit Life Wheel” asking for words at the United Nations. Retrieved March 11, 2020, from http://www.banmuang.co.th/news/education/91049>.
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tripitakas. Bangkok: MCU Press.
Leelayout, P. (2018). Political Communication for Peace: Buddhist Integration. (Doctoral Dissertation). MahachulalongkornUniversity. Ayutthaya.
Sompong, S. (2015). A Critical Analysis of Communication Pattern for Peace in the Online Media by Buddhist Peaceful Means: A Case Study of Komchadluek. Net. (Master’s Thesis). Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Ayutthaya.
Sompong, S. (2020). When Online Media Breaks the Wall! Communication Skills Follow SMCR Need a monk?. Retrieved February 22, 2020, from https://siampongsnews.blogspot.com/2018/08/smcr.html>.
Sompong, S. (2020). Perspectives on Quality Assurance of the Sermon of Brahma Bundit and SMCR Communication Theory. Retrieved February 22, 2020, from https://siampongsnews.blogspot.com/2018/08/smcr.html>.
Tangkitvanic, S. (2020). The robot era has come. 50 professions hurt the monk's skin. Retrieved February 22, 2020, from https://www.banmuang.co.th/news/it/107578>.
Uthayaratana, S. (2018). Media Crisis in Thai Society: A Study and Development of Peace Journalism Model by Buddhist Peaceful Means. (Doctoral Dissertation). MahachulalongKornrajavidyalayaUnviversity. Ayutthaya.