รูปแบบการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำในการทำวิจัยในชั้นเรียนสำหรับครู วิทยาลัยครูสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูวิทยาลัยครูสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ (2) เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ทำหน้าเป็นผู้ดูแลให้คำปรึกษาแนะนำในการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยอาสาสมัคร จำนวน 10 คน และครูใหม่ที่รับการดูแลในการทำวิจัย 10 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยคู่มือการอบรมการวิจัยในชั้นเรียน คู่มือการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ แบบประเมินสมรรถนะการทำวิจัยในชั้นเรียน แบบประเมินสมรรถนะการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ แบบประเมินรูปแบบการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อรูปแบบการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบที่ได้ มีชื่อว่า 2PME Coaching and Mentoring Model ที่ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและวัตถุประสงค์ 2) เชิงระบบสนับสนุน และ 3) กระบวนการ โดยที่กระบวนการประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การเตรียมความพร้อม 2) การวางแผนการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ 3)การดำเนินการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำ และ 4) การประเมินผล 2. ผลการตรวจสอบการใช้รูปแบบการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำในการทำวิจัยในชั้นเรียน พบว่า (1) สมรรถนะของครูผู้ดูแลให้คำปรึกษาแนะนำในการทำวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด (2) สมรรถนะด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้รับการดูแลอยู่ในระดับมาก (3) ความพึงพอใจของครูผู้ดูแลให้คำปรึกษาแนะนำในการทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อรูปแบบการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ความพึงพอใจของครูผู้รับการดูแลในการทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อการดูแลให้คำปรึกษาแนะนำของครูผู้ให้การดูแล อยู่ในระดับมาก
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Arjinsamajarn, C. (2004). Educational Supervision. Bangkok: A & P Books.
Dick, W., Carey, L., & Carey, J. O. (2005). The Systematic Design of Instruction. Boston, Massachusetts: Pearson/Allyn and Bacon.
Euengsakun, P. (1997). Classroom Action Research. Journal of Educational Research, Graduate School, Srinakarinwirot University, 5(4), 12-24.
Glickman, C. D., Stephen, P. G., & Jovita, M. R-G. (2010). Supervision and Instructional Leadership: A Development Approach. (8th ed.). Boston, MA: Allyn and Bacon.
Kruse, K. (2018). Introduction to Instructional Design and the ADDIE Model. Retrieved October 15, 2019, from http://www.transformativedesigns.com/id_systems.html.
Lowriendee, W. (2010). Supervision of Instruction. (5th ed.). Nakornpathom: Silpakorn University Press.
Manee-on, S. et al. (2018). Guidelines for Supervision of Learning Activities through Problem-based Learning of Private Teachers under Chonburi Provincial Education Office. Bangkok: National Institute for Development of Teachers, Faculty Staff and Educational Personnel, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education.
Marlene, P. C., & McHenry, M. J. (2002). The Mentor’s Handbook: Practical Suggestions for Collaborative Reflection and Analysis. Norwood: Christopher Gordon Publisher.
Ministry of Education and Sports. (2001). Lao Education Law: Objectives. Vientiane: Ministry of Education and Sports Printing.
Ministry of Education and Sports. (2005). Lao Education Law: Section 51 Rights Burden and Mission of Teachers. Vientiane: Ministry of Education and Sports Printing.
Ministry of Education and Sports, Teacher Training Department. (2015). Teacher Education Reform Plan 2015-2020: Coaching and Mentoring of New Graduate. Vientiane: Nhan Dan Printing House.
Nillapun, M. (2006). Research Methodology in Behavioral and Social Sciences. Nakornpathom: Silpakorn University Press.
Park. R., & Joy, B. (2007). Mentoring-Coaching: A Handbook for Education Professionals. Bershire, England: Open University Press McGraw-Hill Education.
Savannakhet Teacher Training College. (2017). Annual Report of Savannakhet Teacher Training College. Copied.
Soonthornrojana, W. (2016). Developing Third Year Thai Major Students’ Researching Skill Using Coaching and Mentoring Process. Journal of Education, Mahasarakham University, 10(4), 155-176.
Starcevish, M. M. (2009). Coach, Mentor: Is there Difference? Retrieved February 11, 2019, from http://www/mentoringassociation.org./memberonly/DelM&Coach2.html.
Sweeny, B. W. (2003). Defining the Distinctions between Mentoring & Coaching. Retrieved April 8, 2019, from: http://www.mentoringassociation.org/meberonly/DefM&Coach2.html.
Sweeny, B. W. (2008). The CBAM: A Model of the People Development Process. Retrieved June 12, 2019, from: http://www.mentoring-association.org/meberonly/CBAM.html.
Tamee, P. (2019). The Development of Supervision Model for Inclusive Education in Chiang Rai Primary Educational Service Area 1. Bangkok: Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education.
Watthanawong, S. (2012). Psychology for Training Adult. (3rd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Wiles, D. & Bondi, S. (2004). Supervision: A Guide to Practice. (6th ed.). Upper Saddle River, NJ: Merrill Prentice Hall.