สภาพสังคมที่พึงปรารถนาตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพสังคมที่พึงปรารถนาตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาของสภาพสังคมเกิดจากสมาชิกสังคมถูกครอบงำด้วยกฎของอำนาจที่มาจากผู้ปกครองสังคม เป็นผู้กำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบการต่างๆ เพื่อให้สมาชิกในสังคมต้องปฏิบัติตาม จนทำให้สมาชิกในสังคมถูกเลื่อมล้ำทางสังคมกลายเป็นการถูกเอารัดเอาเปรียบ และถูกยึดสิทธิเสรีภาพของตนเองและทำให้สภาพสังคมถูกกดทับ ต่อมาสมาชิกในสังคมจึงเรียกร้องสิทธิ์และเสรีภาพจากสังคมเพื่อต้องการให้สภาพสังคมกลายเป็น “สังคมที่พึงปรารถนา” ดังนั้นการที่จะทำให้สังคมเป็นสังคมที่ดีได้นั้นจะต้องให้ความสำคัญกับสิทธิเสรีภาพกับสมาชิกในสังคม โดยการนำเอาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาทมาปรับใช้กับสังคมในปัจจุบันมุ่งเน้นหลักมัชฌิมาสังฆาธิปไตย (Polity) คือประชาธิปไตยแบบทางสายกลาง กล่าวคือไม่สุดโต่งไปข้างใดข้างหนึ่งหรือเอียงซ้ายหรือขวา ด้วยเหตุนี้จึงเป็นหัวใจหลักที่จะทำให้สมาชิกในสังคมและผู้ปกครองอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขดั่งที่ปรารถนา
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Arunvej, T. (2008). Guidelines for the development of the elderly in accordance with the strategy of social development. Bangkok: Office of the National Economic and Social Development Board.
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tipitakas. Bangkok: MCU Press. Ngamchitcharoen, W. (2009). Theravada Buddhism. Bangkok: Four-One Printing.
Phra Srikampeerayan. (2013). Buddhist Philosophy. Bangkok: MCU Press.
Phra Ratchaworamuni. (1984). Buddhism and Modern Thai society. Bangkok: Komol Kiemthong Foundation.
Inthasara, W. (2001). Ethics: Science of virtue and art of decision making. Bangkok: Bannakij.
Thepsithar, S. (1991). Coordination with social welfare and social welfare between government and private. Bangkok: Somchai Printing.
Locke, J. (1969). Two Treatise of Government. Edited with An Introduction by Thomas I Cook. New York: Hafner Publishing Company.
Rousseau, J. (1953). Political Writings.Translated and Edited by Frederick Watkins. Edinburgh: Thomas Nelson and sons.
Hobbs,T. (1928). Leviathan. Edited with An Introduction by Michael OakesholtBasil. Blackwell: Oxford.
More,T. (1964). More’s Utopia and Its Critics. Edited by Ligeia Gallagher. Chicago: Scott Forces man and Company.
Choudhary, R. (1971). Kautily’s Political Ideas and institution. India: Chaukhamba Sanskrit Series Offices.