รูปแบบประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในจังหวัดสุรินทร์

Main Article Content

พระอธิการสายแพร กตปุญฺโญ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอัตลักษณ์และประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในจังหวัดสุรินทร์ 2) เพื่อศึกษารูปแบบประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในจังหวัดสุรินทร์ 3) เพื่อเสนอรูปแบบประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในจังหวัดสุรินทร์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 30 รูป/คน  ตามระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ นำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีการพรรณนาตามหลักอุปนัย 


          ผลการวิจัย พบว่า อัตลักษณ์และประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในจังหวัดสุรินทร์
มีคุณลักษณะเฉพาะตัว 4 ด้าน คือ1) ความเป็นมาของอัตลักษณ์และประเพณีการบวชนาคช้าง 2) พัฒนาการของอัตลักษณ์และประเพณีการบวชนาคช้าง 3)การเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์และประเพณีของขบวนการแห่การบวชนาคช้าง 4) ความรู้สึกต่ออัตลักษณ์และประเพณีของชาวกวยในการบวชนาคช้าง รูปแบบประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในจังหวัดสุรินทร์ รูปแบบประเพณีการบวชนาคช้างของชุมชนชาวกวยในอดีตนั้นไม่ต่างจากปัจจุบันนี้มากนัก ซึ่งในอดีตจะไม่มีการจัดโต๊ะจีน มีแต่การนำการละเล่นมาร่วมในงานบวชนาคช้าง ส่วนรูปแบบในได้ปัจจุบันของประเพณีการบวชนาคช้างมีการจัดการรูปแบบขบวนแห่การบวชนาคช้างเชิงประยุกต์จึงทำให้มีรูปแบบเปลี่ยนไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chaiyapa, S. (2001). The Role of Buddhist Preceptors and the Quality of Newly Ordained Monks: The Comparative Study of Buddhist Preceptors Role in Theravada and Mahayana Buddhism in Bangkok. (Master's Thesis). Mahidol University. Bangkok.

Committee for Document Processing and Archives. (2009). Cultural Historical Development Identity and Wisdom of Surin Province. Bangkok: Ministry of Interior Ministry of Education.

Dakbuaw, P. (1999). Buddhism and Thai Peoples. Bangkok: Silapa Bankanakan.

Kamales, N. (2019) Leaders with Managing Cultural Diversity and Communication. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 3(1), 73-84.

Kyaing, W. (2019). The Buddhist Cultural Remains of Sri Ksetra. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 3(2), 49-64.

Papijitr, B. (2006). Thai Culture Tradition and Belief. Bangkok: O.s Printing House.

Pringprau, S. (2004). Tourism development and social change Economic and cultural community: Integrated Elephant Show Management in Ban Ta Klang, Krapho Sub-district, Tha Tum District, Surin Province. (Master's Thesis). Chiang Mai University. Chiang Mai.

Punnotok, T. (1984). History of the lower northeastern districts Considering culture and community, Southern Isan Treasure. Buriram: Cultural Center Teacher College.

Thamphakdi, S. (1968). Thai tradition edition of the Great King. Bangkok: Thamphakdi Printing.

Somdej Phra Mahawirawong. (Pim Dhammatharo). (2005). Universal Religion. (2nd ed.). Bangkok: Mahamakut Buddhist University.

Srisawat, S. (1990). History and Culture of Elephant Raising of Thai-Kui People (Tribute) in Surin Province. Surin: School of Management Science United Northeastern College.