พระราชกรณียกิจ : บทบาทและหน้าที่ของพระธรรมราชา ที่ปรากฏในจักกวัตติสูตร

Main Article Content

พระมหาคำพันธ์ ปภากโร
นคร จันทราช
สิปป์มงคล ป้องภา
พระครูธรรมธรศิริวัฒน์ สิริวฑฺฒโน
นายปฐมสิทธิ์ แสวงวงศ์
เพ็ญพรรณ เฟื่องฟูลอย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่อง “พระราชกรณียกิจ : บทบาทและหน้าที่ของพระธรรมราชา ที่ปรากฏในจักกวัตติสูตร” ในการศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาและค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้องโดยแยกประเภท เรียบเรียง สรุปสาระสำคัญ และวิเคราะห์เนื้อหา จากการศึกษาพบว่า พระราชกรณียกิจ: บทบาทและหน้าที่ของพระธรรมราชาที่ปรากฏในจักกวัตติสูตรนั้น พระธรรมราชามีบทบาทและหน้าที่สำคัญ 2 ประการ คือ 1) การแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ 2) การสร้างความมั่นคงทางด้านศีลธรรม บทบาทและหน้าที่สำคัญ 2 ประการดังกล่าวพระธรรมราชาจะต้องเข้าใจถึงปัญหาของผู้ใต้ปกครอง มีวิธีการแก้ปัญหาด้วยความถูกต้องและตั้งอยู่ในธรรมอันจะทำให้ประชาชนส่วนมากมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เศรษฐกิจและสังคม ในประเทศที่ตนปกครอง ประชาชนจะมีความสุข ประเทศชาติมีมั่นคงด้วยศีลธรรมได้โดยพระธรรมราชาจะต้องตั้งตนอยู่ในหลักจักรวรรดิวัตร

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

พระมหาคำพันธ์ ปภากโร, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่อง “พระราชกรณียกิจ : บทบาทและหน้าที่ของพระธรรมราชา
ที่ปรากฏในจักกวัตติสูตร” ในการศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาและค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้องโดยแยกประเภท เรียบเรียง สรุปสาระสำคัญ และวิเคราะห์เนื้อหา จากการศึกษาพบว่า พระราชกรณียกิจ: บทบาทและหน้าที่ของพระธรรมราชาที่ปรากฏในจักกวัตติสูตรนั้น พระธรรมราชามีบทบาทและหน้าที่สำคัญ 2 ประการ คือ
1) การแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ 2) การสร้างความมั่นคงทางด้านศีลธรรม บทบาทและหน้าที่สำคัญ 2 ประการดังกล่าวพระธรรมราชาจะต้องเข้าใจถึงปัญหาของผู้ใต้ปกครอง มีวิธีการแก้ปัญหาด้วยความถูกต้องและตั้งอยู่ในธรรมอันจะทำให้ประชาชนส่วนมากมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เศรษฐกิจและสังคม
ในประเทศที่ตนปกครอง ประชาชนจะมีความสุข ประเทศชาติมีมั่นคงด้วยศีลธรรมได้โดยพระธรรมราชาจะต้องตั้งตนอยู่ในหลักจักรวรรดิวัตร

References

Adiwatthanasit, C. (2011). Sociology Buddhist. Bangkok: MCU Press.

Changkuayuen, (1999). Dhammarat-Thammaracha.Bangkok: ChulalongkornUniversity Printing House

__________. (1995). Political thoughts of Buddhadasa Phikkhu. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Lecturers of the Liang Chiang Printing House. (2007).The parts of Dhamma, the standard Version. Bangkok: Liangchiang Press.

Mahachulalongkornrajavidyalaya University, (1996). Thai Tripitakas. Bangkok: MCU Press.

Netnimit, (2007). Social dimensions in Suttantapitaka. Bangkok: Cheewaphivat Press.

Phra Dharmakosajarn (Prayoon Dhammacitto).(2006).Buddhist management methods. Bangkok: MCU.Press.

Phra Brahmagunabhorn (P.A.Payutto), (2005).Buddhadhama Extended Edition.Bangkok: MCU.Press.

__________. (2008). Buddhist Dictionary: Glossary, Bangkok: S. R. Printing Ltd.

__________.2009). Inscription Ashoka (Dhammachaka on the head of Singha), Political science of dharma. Bangkok: Plidham. Press.

Ponsompop, (1991). Philosophical problems in politics of the eastern world. Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Royal Institute, (2003). Royal Institute Dictionary, (1999).Bangkok: Nanmeebooks Ltd.

Susamran, (1991). Buddhism and political and social change. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House