A Conceptual Model of Bi-dimensional Development of Mind and Wisdom for Happiness Access in Life by Biofeedback Process

Main Article Content

Sanu Mahatthanadull
Phramaha Nantakorn Piyabhani
Orachorn Kraichakr
Sarita Mahatthanadull

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้นำเสนองานวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องการเข้าถึงความสุขตามหลักการของพระพุทธศาสนาและแนวคิดเรื่องความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH), (2) เพื่อศึกษาทฤษฎีการตอบสนองทางชีวภาพ (ไบโอฟีดแบค) และ (3) เพื่อนำเสนอแบบจำลองแนวคิดของการพัฒนาจิตตปัญญาเชิงทวิมิติเพื่อการเข้าถึงความสุขในชีวิตโดยกระบวนการการตอบสนองทางชีวภาพ (ไบโอฟีดแบค) ดำเนินการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 8 ท่านซึ่งเป็นพระสงฆ์และตัวแทนนักวิชาการชาวพุทธที่มีความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่


ผลวิจัยแสดงให้เห็นว่าการเข้าถึงความสุขเหนือความสุขคือการเข้าถึงความสุขที่เหนือกว่าโดยการจัดการกับภาวะของทุกข์และสุข ในขณะที่การปฏิบัติของความสุขมวลรวมประชาชาติเน้นการมีส่วนร่วมทางสังคม ส่วนกระบวนการไบโอฟีดแบคใช้เครื่องมือตรวจวัดที่หลากหลาย 7 ประเภท มี Electroencephalography (EEG) เป็นต้น เมื่อกระบวนการดังกล่าวถูกหลอมรวมเข้ากับการฝึกกรรมฐานตามแนวพุทธแล้ว ผู้ปฏิบัติธรรมจะสามารถประเมินความสุขของตนในรูปแบบที่สามารถจับต้องได้อย่างเป็นรูปธรรม สำหรับตัวแบบจำลองที่สร้างขึ้นนั้นแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาแบบทวิมิติเพื่อการเข้าถึงความสุขในชีวิต ประการแรกมิติทางจิตใจ หมายถึงการพัฒนาจิตใจเพื่อเข้าถึงความสุข 5 อย่างในสมาธิ ได้แก่ (1) ปราโมทย์, (2) ปีติ, (3) ปัสสัทธิ, (4) ) สุข และ (5) สมาธิ เครื่องมือของไบโอฟีดแบคสามารถนำมาใช้อย่างกลมกลืนในการฝึกฝนจิตใจและความสุขที่เกิดขึ้นสามารถวัดได้จากปรากฏการณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ประการที่สองมิติภูมิปัญญา หมายถึงการพัฒนาปัญญาเพื่อการเข้าถึงความสุขตลอดกาลนั่นคือนิพพานความสุขสูงสุดแห่งมวลมนุษยชาติ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Bhadantacariya Buddhaghosa. (2010). The Path of Purification (Visuddhimagga). tr. By Bhikkhu Ñāṇamoli. (4th ed.). Kandy: Buddhist Publication Society.

Culbert, T., & Banez, G. (2016). “Pediatric Applications”. in Biofeedback: A Practitioner’s Guide. (4th ed.). New York: The Guilford Press.

Davids, R.C. (1975). The Visuddhi-Magga of Buddhaghosa. London: PTS.

Dvorznak, M.J., Cooper, R.A., O’Connor, T.J., & Boninger, M.L. (1997). “Braking Study”, Reh ab R&D Prog Rpts: 294.

Estlin, J. (1976). The Dīgha Nikā ya. London: PTS.

Feer, M. L. (1991). Saṃyutta-Nikāya: Part I, Sagātha-Vagga. Oxford: PTS.

______. (1990). Saṃyutta-Nikāya: Part IV, Saḷāyatana-Vagga. Oxford: PTS.

Gilbert, C., & Moss, D. (2003). “Biofeedback and Biological Monitoring”, in D. Moss, A. McGrady, T.C. Davies, I. Wickramasekera. Handbook of Mind-body Medicine for Primary Care: Behavioral and Psychological Tools. Thousand Oaks: Sage Publications.

Hardy, E. (1902). The Netti-Pakaraṇa with Extracts from Dhammapāla’s Commentary. London: Henry Frowde Oxford University Press.

Hare, E.M. (1973). The Book of the Gradual Sayings (Anguttara-Nikāya): The Books of the Fives & Sixes. London: PTS.

Hinuber, O. V., & Norman, K.R. (1995). Dhammapada. Oxford: PTS.

Oldenberg, H. (1982). The Vinaya Piṭakaṃ. London: PTS.

Planning Commission. (1999). Bhutan 2020: A Vision for Peace, Prosperity and Happiness, Part I-II. Thimphu: Planning Commission, Royal Government of Bhutan.

RGoB. (2005). Bhutan National Human Development Report. Thimphu: Royal Government of Bhutan.

Schroeder, K. (2018). Politics of Gross National Happiness: Governance and Development in Bhutan. Cham, Switzerland: Springer Nature.

Trenckner, V. (1979). The Majjhima-Nikāya. London: PTS.

Woodward, F.L. (1979). The Book of the Gradual Sayings (Anguttara-Nikāya). London: PTS.