Educational Cooperation between Thailand and Lao PDR in the Post-ASEAN Time: A Case Study of Twin Schools under Mekong River Sub-Region’s Cultural Context
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาบริบทความสัมพันธ์และความร่วมมือทางการศึกษาระหว่างไทย-ลาว ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสาร และภาคสนาม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน จำนวน 52 คน เก็บรวบรวมข้อมูลการสัมภาษณ์ สังเกต วิเคราะห์ข้อมูลโดยสร้างข้อสรุปด้วยวิธีการแบบอุปนัย
ผลการวิจัย พบว่า
- 1. บริบทความสัมพันธ์ไทย-ลาวในมิติวัฒนธรรมสองฝั่งแม่น้ำโขง มีความเป็นเครือญาติและชาติพันธุ์เดียวกัน หากมองผ่าน “ความเป็นลาว” ข้ามพ้นความเป็นรัฐชาติที่แตกต่างกันในระบอบการปกครอง จะพบว่าพื้นที่สองฟากฝั่งแม่น้ำโขงเต็มไปด้วยคนลาวที่ความเชื่อและจารีตเดียวกันคือส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและมีวัฒนธรรมประเพณีในแบบ “ฮีตสิบสองคองสิบสี่”
- ความสัมพันธ์ไทย-ลาว เป็นความสัมพันธ์เชิงเครือญาติแบบ “เชื่อมสายโลหิต” มีมาตั้งแต่ยุคอาณาจักรล้านช้างและอยุธยา ต่อมาในยุคอาณานิคมได้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน และในยุคปัจจุบันทั้งสองฝ่ายมีการเยือนประเทศอย่างเป็นทางการ มีความสัมพันธ์ผ่านการจัดตั้งศูนย์หรือโครงการพัฒนาต่างๆ
- ความร่วมมือทางการศึกษาไทย-ลาว กรณีโรงเรียนคู่แฝดมีจุด เริ่มต้นที่ความผูกพันส่วนตัวมักคุ้นช่วยเหลือเชื่อถือกันไปหามาสู่แบบ “พี่น้อง” ทั้งแบบทางการและไม่ทางการ แนวทางเสริมสร้างความเข้มแข็งโรงเรียนคู่แฝดควรจัดให้มีบันทึก MOU ต่อกัน มีกิจกรรมสัมพันธ์ เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม แลกเปลี่ยนทางวิชาการ พัฒนาครูนักเรียนร่วมกัน และขยายเครือข่าย
Article Details
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Royal Thai Embassy, Vientiane, Lao PDR. (n.d.). 19th Joint Commission of Thai-Lao Cooperation. Retrieved September 8, 2015, from http://vientiane.thaiembassy.org/th/news/?ID=7
Department of Trade Negotiation, Ministry of Commerce. (2009). ASEAN Economic Community. Bangkok: Department of Trade Negotiation, Ministry of Commerce.
Development of International Politic and Economic Relation. (n.d.). Retrieved September 9, 2015, from http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc5/so31-5-4.htm
Education in Thailand under ASEAN Condition. (n.d.). Retrieved September 9, 2015, from http//202.29.93.22/asean/?name= Education Policy.
Emirbayey, M., & Goodwin, J. (1994). Network Analysis, Culture, and the Problem of Agency. American Journal of Sociology. 6(99), 1411-1454.
Harnchaichana, P. (2006). Self- Creation Process of Lao Immigrant in Thai-Lao’s Border Area. (Master’s Thesis). Khon Kaen University. Khon Kaen.
Holsti, K. J. (1995). International Politics A Framework for Analysis. (7th ed.). New Jersey: Prentice Hall inc.
Kru Nut. (n.d.). International Relation. Retrieved September 9, 2015, from http://megaclever.blogspot.com/2008/07/blog-post_6269.html
Ministry of Foreign Affairs. (1998). Politic and Economic of Lao PDR: Problems and Chance in Thai-Lao Relations. Bangkok: East Asia Department, Ministry of Foreign Affairs.
Santasombut, Y., Sathaarnun, C., & Tangsrifa, D. (2008). Power, Area and Ethnic Identity: Cultural Politic of Nation-State in Thailand. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization).
Secretariat of the Cabinet. (2011). Policy Declaration of Prime Minister Miss Yingluck Shinawatra’s Cabinet to the Parliament. Bangkok: Cabinet and Royal Gazette Publishing Office.
Senakham, T. (2004). Displaced People and Ethnic Study: Guideline in Ethnic Study. Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization).
Somprach, K. et al. (2005). Cooperation for Promoting Schools’ Administrators Profession. Khon kaen: Khon Kaen University.
Southeast Asian Ministers of Education Organization Secretariat. (n.d.). Southeast Asian Ministers of Education Organization. Retrieved October, 9, 2014, from http:// www.seameo.org.
Suwanautchariya, C. (2006). Social Network. Maha Sarakham: Maha Sarakham University.
UNESCO. (2018). Issues and trends in education for sustainable development. Paris: The United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization.
Wisalaporn, P. et al. (n.d.). The Role of Education in Building an ASEAN Community 2015. Bangkok: Public Relations Affaire, Office of the Minister, Ministry of Education, Thailand.