พุทธนวัตกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดโดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยเพื่อสังคมนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและนำเสนอผลการใช้พุทธนวัตกรรมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้เด็กและเยาวชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเครื่องมือวิจัยที่ใช้ การสัมภาษณ์การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม นักวิจัยชุมชน การสนทนากลุ่มเทคนิค,
การประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ (A-I-C) การร่วมสะท้อนกิจกรรมด้วยเทคนิค (AAR) การใช้ต้นไม้ปัญหา, การทำแผนที่เดินดิน และการออกแบบการจัดกิจกรรมหลัก 4 ครั้ง การประเมินผลโดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า
กรอบแนวคิดการสร้างพุทธนวัตกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้เด็กและเยาวชน ประกอบด้วยการอบรมบ่มเพาะเยาวชนตามหลักไตรสิกขา มรรคมีองค์ 8, พลังทุนชีวิต และสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนด้วยหลักอริยสัจ หลักปธาน 4 และหลักอิทธิบาท 4 โดยผ่านการทำกิจกรรมที่ 1 การสร้างความตระหนักรู้ เปิดใจรับฟัง ร่วมแสวงหาทางออก กิจกรรมที่ 2 ปลูกฝั่งการเรียนรู้จักชุมชนด้วยแผนที่เดินดิน กิจกรรมที่ 3 อบรมบ่มเพาะ สอนให้รู้ สอนให้รัก สร้างภูมิต้านทานยาเสพติดในชุมชน กิจกรรมที่ 4 สร้างสรรค์ นำไปสู่การพัฒนากลุ่มเด็กและเยาวชนที่มีความเข้มแข็ง มีวิสัยทัศน์กลุ่ม การจัดสรรหน้าที่ และการทำกิจกรรมขับเคลื่อนชุมชนปลอดยาเสพติด และการมีส่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงร่วมกับชุมชนเกี่ยวกับมาตรการป้องกันยาเสพติดในเชิงป้องกันและเชิงพัฒนา
องค์ความรู้ใหม่ 3-7-4 BCP โมเดล ประกอบด้วย 3 หลักการประสานชุมชน สังคม, 7 กระบวนการแปรผันพลังเยาวชนเพื่อพัฒนาชุมชน 4 และแนวปฏิบัติเพื่อสร้างชุมชนแห่งรักที่เข้มแข็ง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ ยินยอมว่าบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Chirinung, P. (2016). Guidelines for the Prevention of Drug Problems in the Community of Nongkham District Office, Bangkok. Western University. Journal of Humanities and Social Science, 2(1), 39-49.
Cohen, J.M., Uphoff, N.T. (1977). Rural Development Participation: Concepts and Measures for Project Design. Implementation and Evaluation. New York: the Rural.
Development Committee Center for international studies. Cornell University: (n.p.)
Department of Juvenile Observation and Protection. (2015). Guidelines for the prevention of drug abuse in educational institutions, 2020. Retrieved October 17, 2017, from http://www.skp.moe.go.th/attachments/article/pdf.
Hanmontri, E. (2018). The Success of Community in Protection and Solution of Problem of Youth Risking to Drug Addition in Angthong Province. Journal of MCU Nakhondhat, 5(2), 434-451.
Kaewthep, K. (2016). Socially-engaged Scholarship: The Writing of Socially-engaged Research Article. Bangkok: National Institute of Brain Resources.
Kemmis, S. & McTaggart, R. (Eds.) (1990). The action research reader. Victoria: Deakin University.
Phra Sutath Pansuphon. (2016). Drugs Prevention and Problem Solving Model of Municipalities and Sub district Administration Organizations in Chonburi Province, Thailand. Journal of Nakhonratchasima College, 10(1), 184-195.
Pudthichat, W. (2017).The Development of the Model for Defending and Solving the Drug Problem in Thai-Laos Border Villages. Sisaket Rajabhat University Journal, 9(3), 1-11.
Saenpuran, P. (2016). The Protection and Solution the Problems of Dentrifices by Buddha’s Doctrines. Journal of Humanities & Social Sciences, 33(3), 264-281.
Thaseenguen, P. (2015). Guidelines for the Cooperation Building of Drug Prevention and Solution of the Community Leaders in Uttaradit Province. Journal of Graduate School Pitchayatat, 10(1), 67-46.
Triphati, S. (2018). Development of adolescents and youth potential with positive energy. Retrieved May 2, 2019, from https://www2.nrct.go.th/pdf.
Tuntakit, N. (2015). Drug Prevention for At-Risk Youth Group outside The School: A Casen Study of Youth Volunteers for Land Forces Project in Taphong Sub district, Muang District, Rayong Province. Journal of Social Research Chulalongkorn University, 38(2), 113-146.
Wattanapradith, K., Seethong, K., Rojjanauthai, S. & Areekul, C. (2018). The Holistic Development of Mind and Wisdom: Documentary and Research Synthesis. Ayutthaya: Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Wiset, S., Jaroenkusol, T., Maidee, D. & Hongthong, N. (2017). Model and Process to Create the Drug Free Society Accordance with Principle of Buddhism in Northern of Thailand. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Yuenharn, S. (2018). Current drug situation and 20-year drug prevention and solution plan. Office of the Narcotics Control Board. Retrieved October 18, 2017, from www:https://bdn.go.th/attachment/services/download.php?WP=q3MZp21CM5O0hJatrTgjWz00qmqZZz1CM5O0hJatrTDo7o3Q.