The Development of Learning Achievement of Chemistry and Group Working Behavior of Grade 11 Students Using Inquiry Method (5E) Together with Problem Based Learning
Keywords:
Inquiry Method (5E), Learning Achievement, Problem-Based Learning, Group Working BehaviorAbstract
The aims of this research were 1) to compare learning achievement of chemistry in the topic of polymer of grade 11 students before and after learning by using the inquiry method (5E) with problem-based learning. The research tested differences between pretest and posttest with t-test and 70 percent criterion, and 2) to study group working behavior of grade 11 students using the inquiry method (5E) with problem-based learning. The target group were 24 grade 11 students in the second semester of the 2023 academic year of Phrabangwittaya School in Nakhon Sawan Province, which were selected by using purposive sampling. The research instruments were Learning Management lesson plans of the inquiry method (5E) together with problem-based learning, learning achievement test, and group working behavior questionnaire. The discrimination index / IOC value/ research instrument reliability were 0.40-0.80 / 1.00 /0.79, respectively, indicating that the research instrument can be applied to the target group. The results showed that the post-test scores after learning with the inquiry method (5E) together with problem-based learning ( =32.54) were higher than the pre-test scores (
=13.79) and the specified criteria of 70 percent at the .05 level of significance and overall group working behavior was at a good level. It could be concluded that learning achievement and effective teamwork skill can be developed using the inquiry method (5E) together with problem-based learning.
Downloads
References
กัญญา ศรีติ้ง. (2556). การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
กนกวรรณ เขียวน้ำชุม, อภิสิทธิ์ สมศรีสุข และวาโร เพ็งสวัสดิ์. (2563). “การพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนบ้านดงน้อย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2”. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 12(33) : 19-26.
กนิษฐา เทาสี, สิรินภา กิจเกื้อกูล และมลิวรรณ นาคขุนทด. (2563). “การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและทักษะการทำงานกลุ่ม ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.” Journal of Education Naresuan University. 22(2) : 31-48.
กมลชนก จันทร, เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์ และปริญญา ทองสอน. (2565). “ผลของการจัดการเรียนรู้วิชาเคมีโดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 20(1) : 143-158.
กิตติศักดิ์ ใจอ่อน และกตัญญุตา บางโท. (2565). “การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษา.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 24(1) : 99-109.
จิตติ์โศภิณ บุญเชิด และวาสนา กีรติจำเริญ. (2563). “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสังคมศึกษาและความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน.” วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 14 (4) : 251-263.
ณัฐวุฒิ ศรีระษา, ภัทรภร ชัยประเสริฐ, และเชษฐ ศิริสวัสดิ์. (2564). “การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.” วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 49(4) : 1-13.
ทิศนา แขมมณี. (2543). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัชทร โพธิน้อย. (2561). การใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดสองพี่น้อง. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
บัวรัตน์ ศรีนิล. (2560). เอกสารประกอบการเรียน การออกแบบวิจัยธุรกิจ การเก็บรวบรวมข้อมูลการออกแบบสอบถามและการเลือกตัวอย่าง. เชียงใหม่ : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2545). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยะพันธ์ พิชญ์ประเสริฐ, อัจฉรีย์ พิมพิมูล และมาลีรัตน์ ขจิตเนติธรรม. (2562). “องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้สื่อออนไลน์ตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง แนวคิดเดอะบิกซิกและกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มสืบสอบ เพื่อพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น.” วารสารศึกษาศาสตร์. 30(3) : 174-184.
ปิยะวัตร ผิวศิริ และปาริชาติ ภูภักดี. (2567). “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน บูรณาการร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เรื่อง การคูณและการหารทศนิยม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2567 “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา Soft Power ท้องถิ่นสู่การสร้างสรรค์ระดับ”. หน้า 9-13. เลย : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ปรียานุช ใจหาย และภาสกร ภักดิ์ศรีแพง. (2567). “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่อง ระบบนิเวศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5E) ร่วมกับบอร์ดเกม.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 35(1) : 56-70.
พงศกร ลอยล่อง, เยาวเรศ ใจเย็น และปวริศา จรดล. (2564). “การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) กับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL).” วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 15(2) : 109-117.
พันธวัฒน์ ธมฺมวฑฺฒโน (ภูมิรัง) และ วิทยา ทองดี. (2565). “การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน.” วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 7(1) : 967-976.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มัญชสุ เลานอก. (2565). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน วิชาสังคมศึกษา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก
ศรีวิภา พูลเพิ่ม. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อกรุวิทยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุธิดา ทองคำ. (2565). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาเคมีโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมผสานสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี.” วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 39(1) : 36-50.
อทิยา ลิขิตจรรยารักษ์, ดวงเดือน สุวรรจินดา, และจุฬารัตน์ ธรรมประทีป. (2565). “ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนจะนะชนูปถัมภ์ จังหวัดสงขลา.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 23(1) : 89-101.
อนุชาติ ศรีศิริวัฒน์, พูลศักดิ์ โกษียาภรณ์, ภาณี น้อยยิ่ง และสมศักดิ์ แก้วพันธ์. (2559). “การพัฒนาวิธีการสอนแบบสืบเสาะเพื่อฝึกทักษะผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการและสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา ต้องการของสถานประกอบการและสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา.” Journal of Education Studies Journal of Education Studies. 44(4) : 218-230.