การรับรู์เสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

Main Article Content

ศิริรัตน์ ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การรับรู้เสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษ  ได้แก่ เสียงเสียดแทรก /f, v, T, D, s, z, S, Z/ เสียงกักเสียดแทรก /tS, dZ/ และเสียงข้างลิ้น /l/ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จำนวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นคำศัพท์ที่มีเสียงพยัญชนะท้ายเป็นเสียงเสียดแทรก เสียงกักเสียดแทรก และเสียงข้างลิ้น จำนวน 33 คำ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่างฟังเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ซึ่งพูดโดยชาวต่างชาติที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ จากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างเลือกตอบในแบบสอบถามว่าเสียงที่ได้ยินเป็นคำใดในภาษาอังกฤษ เพื่อพิจารณาว่ากลุ่มตัวอย่างรับรู้เสียงพยัญชนะท้ายในภาษาอังกฤษซึ่งไม่มีในภาษาไทยได้ถูกต้องหรือไม่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างรับรู้เสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องมากกว่าร้อยละ 50 เสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษที่สามารถรับรู้เสียงได้อย่างถูกต้องมากที่สุด คือ เสียงพยัญชนะท้าย/z/  (ร้อยละ 95.4) และเสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษที่สามารถรับรู้เสียงได้อย่างถูกต้องน้อยที่สุด คือ เสียงพยัญชนะท้าย/D/ (ร้อยละ 53.4) รูปแปรของเสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษที่ปรากฏเมื่อกลุ่มตัวอย่างรับรู้เสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง ได้แก่ รูปแปร [t, p, n, N, w, d, 2] งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าความแตกต่างระหว่างเสียงในภาษาแม่และภาษาเป้าหมายมีอิทธิพลต่อการรับรู้


 

Article Details

How to Cite
ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์ ศ. . . (2019). การรับรู์เสียงพยัญชนะท้ายภาษาอังกฤษของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 11(3), 44–71. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhsc/article/view/216154
บท
บทความวิจัย

References

Amara Prasithrathsint. (1989). The Definition in Sociolinguistics. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (In Thai)

Best, C. (1995). A Direct Realist View of Cross-Language Speech Perception. In Speech Perception and Linguistic Experience: Issue in Cross-Language Research. Strange, W. (Ed.). pp.171-204. Maryland: York Press.

Fry. D.B. (1970). Speech Reception and Perception. 5th reprint. In John Ryan. New Horizons in Linguistic. Penguin Books Ltd.

Johnson. (2010). Speech Perception. Acoustic and Auditory Phonetics, 3rd Edition. UC Berkeley Phonology Lab Annual Report.

Kamonnate Leewamoh. (2001). The Comparative Study in the Production of Final Plosive Consonants of Different Background Students. Master of Arts Thesis, Srinakharinwirot University. (In Thai)

Kanchana Naksakun. (1998). Thai Phonology. Bangkok: Faculty of Arts, Chulalongkorn University. (In Thai)

Krashen, S.D. 1987. Principle and Practice in Second Language Acquisition. Prentice-Hall International Ltd.

Ladefoged, P. (2006). A Course in Phonetics (Fifth Edition). Boston: Thomson Wadsworth.

Ladefoged, P & Johnson, K. (2011). A Course in Phonetics. Wadsworth: Cengage Learning.

Luksaneeyanawin, et al. (1997). The role of L1 background and L2 instruction in the perception of fricative consonants: Thai and English children and adults. Asia Pacific Journal of Speech, Language and Hearing 2, pp. 25-42.

Sirirat Choophan Atthaphonphiphat. (2015). Error Analysis in English Essay Writing of Suratthani Rajabhat University’s Students with Different English Language Experiences. Journal of Humanities and Social Sciences Suratthani Rajabhat University. Vol 7, No 1 January-April, pp. 25-52. (In Thai)

Sirirat Sirivisoot. (1994). Variation of Final in English Loanwords in Thai according to Style and Educational Background. Master of Arts Thesis, Department of Linguistics, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. (In Thai)

Sranthorn Nimphaibule. (1996). Variation of Thai Air Hostesses’ Pronunciation of the Final Consonants

in English Words. Master of Arts Thesis, Department of Linguistics, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. (In Thai)

Sudaporn Luksaneeyanawin. (2002). Psycholinguistics Handout. Department of Linguistics, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. (In Thai)

Theraphan Luangthongkum. (2011). Thai Sound: An acoustic Study. Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai)

Thomason, S & Kaufman, T. (1988). Language contact, Creolization and Genetic Linguistics. Berkeley: University of California Press.