การจัดการทุนมนุษย์ของอุตสาหกรรมผลิตนมพร้อมดื่มในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 2) เพื่อศึกษาแนวทางความเหมาะสมของคู่มือการจัดการ และ 3) เพื่อประเมินคณลักษณะของพนักงานต่อการจัดการองค์กรโดยใช้ต้นแบบคู่มือการจัดการทุนมนุษย์ของอุตสาหกรรมผลิตนมพร้อมดื่มในประเทศไทย รูปแบบการวิจัยเป็นรูปแบบการวิจัยและพัฒนา ใช้แนวคิด หรือทฤษฎี การจัดการทุนมนุษย์เป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัย คือ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 45 คน คือพนักงาน จำนวน 25 คน วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ส่วนผู้บริหารและนักวิชาการ จำนวน 20 คน โดยการเลือกแบบเจาะจงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินความเหมาะสมของคู่มือ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และผลการวิจัยพบว่า
วัตถุประสงค์ที่ 1 ระบบการจัดการทุนมนุษย์ที่เหมาะสมมี 4 ขั้นตอน 1) วางแผน 2) ปฏิบัติการและสังเกตผล ได้แก่ การสร้างและการจัดการความรู้ การสร้างความผูกพันและการพัฒนาศักยภาพพนักงาน
วัตถุประสงค์ที่ 2 คู่มือที่ปรับปรุงขึ้นความสอดคล้องกับการพัฒนาบุคลากรประกอบด้วยการวางแผนดำเนินการ สร้างคู่มือ การนำไปใช้ และการประเมินผลคู่มือการจัดการทุนมนุษย์
วัตถุประสงค์ที่ 3 รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการส่งผลให้หัวหน้างานมีทักษะความสามารถในการสื่อสารมากที่สุด (= 4.21) รองลงคือมีทักษะการคิดสร้างสรรค์ในระดับมาก (= 4.18) และแก้ไขปัญหาเชิงป้องกันในระดับมาก (=4.06) ตามลำดับ โดยเมื่อหลังดำเนินงานแล้วพบว่าผู้บริหารมีความพึงพอใจต่อคู่มือที่ปรับปรุงขึ้นมีความสอดคล้องกับการพัฒนาบุคลากร ในระดับมากที่สุด (=4.73) รองลงมาคือด้านแรงงานมีศักยภาพในระดับมาก ( = 4.16) และมีแรงงานมีความคิดสร้างสรรค์ในระดับมาก
( =4.23) ตามลำดับ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จีระ หงส์ลดารมภ์. (2555). ทุนมนุษย์ของคนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: เอเชียแปซิฟิคคอนซัลแตนท์.
ธนวัฒน์ ศรีไพโรจน์, ดุษฎี โยเหลา และ ปิยดา สมบัติจินดา. (2561). อิทธิพลของโปรแกรมการโค้ชการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานที่มีต่อสมรรถนะของครูผู้สอน. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(2), 96-110.
นิลาวัลย์ สว่างรัตน์. (2561). การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ในประเทศไทย เพื่อมุ่งสู่อุตสาหกรรมสร้าง สรรค์ที่สมดุลและยั่งยืน. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(2), 2136-2152.
บริษัทพาร์ทเนอร์ชิพ เซอร์วิส เซ็นเตอร์ แอนด์ แมนเนจเมนท์ จำกัด. (2566). เอกสารประกอบการฝึกอบรมเรื่องรูปแบบสร้างทุนมนุษย์เพื่อยกระดับฝีมือแรงงานสถานประกอบการ. (เอกสารอัดสำเนา).
พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: ธรรมกมล.
พสุธิดา ตันตราจิณ และคณะ. (2559). ทุนมนุษย์: การจัดการทุนมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. วารสารสุทธิปริทัศน์, 30 (พิเศษ), 117-123.
ภวินท์ธนา เจริญบุญและสุวิตา พฤกษอาภรณ์. (2565). การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนด้วยทุนวัฒนธรรมหลังวิถีใหม่ของจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(5). 398 -415.
วาสนา ศรีอัครลาภ และจิราวรรณ คงคล้าย. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การแห่งยุคสารสนเทศสู่องค์การยุคใหม่ในอนาคต. Veridian E-Journal, 9(2), 328-338.
สุจินต์ พูลบุญ. (2565). การพัฒนาการพัฒนาทุนมนุษย์์ภาครัฐเพื่อการบริหารงานในรูปแบบดิจิทัลของประเทศไทยกับความปกติิใหม่จากสถานการณ์ณ์์การแพร่พร่่ระบาดดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารพัฒนศาสตร์, 5(1), 141 – 174.
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ. (2565). แผนกลยุทธ์การบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์ ประจำปี2565 – 2569. สืบค้น 12 สิงหาคม 2566, จาก https://www.nsm.or.th/ita/report/2023-04
อรวรรณ ไพโรจนวุฒิพงศ์. (2558). อิทธิพลของการจัดการทุนมนุษย์ในฐานะปัจจัยคั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลของการจัดการความรู้และการจัดการผลงานสู่ผลการดำเนินงานขององค์การธุรกิจบริการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).
อรุณเดช มารัตน์. (2565). การจัดการทุนมนุษย์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ).
Berger, A.L. & Berger, R.D. (2004). The Talent Management Handbook: Creating Organizational Excellence by Identifying, Developing, and Promoting Your Best People. New York: McGrew-Hill.
Bateman, T.S. & Snell, S.A. (2014). Management: Leading and Collaborating in a Competitive World. 11th Edition. Burr Ridge, IL: McGraw-Hill Higher Education, Inc., forthcoming.
Gilley, J. W. and Eggland, S. A. (1989). Principles of Human Resource Development. New York: Addison-Wesley.
Gratton, L. and Ghoshal, S. (2003). Managing personal human capital New ethos for the Volunteer employee. European Management Journal, 21, 1-10.
Jamal, W.; & Saif, M. I. (2011). Impact of human capital management on organizational performance. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences, 34, 55– 69.
Mondy, R. W. and Noe, R. M. (2005). Human Resource Management. 9th ed. Upper SaddleRiver, N.J.: Prentice Hall.
Michaels, E., Helen Handfield-Jones, H. and Beth Axelrod, B. (2001). The War for Talent. Boston. USA: Harvard Business School Press.
Rao, M.S. (2010). Soft Skills - Enhancing Employability: Connecting Campus with Corporate. New Delhi: I. K. International Publishing House Pvt Ltd.
Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. London: Century Press.
Tarus, B. K. (2014). Effects of Job Rotation Strategy on High Performance Workplace, in Lake Victoria North Water Services Board, Kenya. International Journal of Business and Management, 9(11), 139.
Tay Lee Chin. (2017). Ability, Motivation, Opportunity Enhancing Human Resource Management and Corporate EnvironmentalCitizenship: What’s the Connection?. Global Business and Management Research. An International Journal, 9(1), 299-312.
Weiss, S. Davic and Legand, P. Claude. (2011). Innovative Intelligence. Ontario: John Wiley & Sons Canada, Ltd.