แนวทางพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ตามแนวคิดทักษะการคิดขั้นสูง
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิจัยความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ตามแนวคิดทักษะการคิดขั้นสูงลำดับสูงสุด คือ การประเมินผล (PNImodified=0.617) รองลงมา คือ การจัดการเรียนรู้ (PNImodified=0.526) และการพัฒนาหลักสูตร (PNImodified=0.429) ตามลำดับ 2. ผลการวิจัยได้แนวทางพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ ตามแนวคิดทักษะการคิดขั้นสูง มีทั้งหมด 3 แนวทางหลัก 6 แนวทางย่อย
ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับทราบข้อมูลจากครูผู้สอน บุคลากรภายในสถานศึกษาถึงความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ตามแนวคิดทักษะการคิดขั้นสูงเรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปน้อย และสามารถนำแนวทางการพัฒนาการบริหารวิชาการไปพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดขั้นสูงต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กัลย์วิสาข์ ธาราวร. (2559). การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อพัฒนาความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 11(3), 374-389.
ทิศนา แขมมณื และคณะ. (2544). วิทยาด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริม กรุงเทพมหานคร.
ปองสิน วิเศษศิริ. (2555). เอกสารประกอบการสอนวิชา 2747732 การบริหารงานวิชาการกับ การประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2552). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนร้เูพื่อศิษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ. ตถาตา พับลิเคชั่น.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). การประเมินการเรียนรู้: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.
สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558) แนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2565) การบริหารวิชาการที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคพลิกผัน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Anderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching and Assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives:Complete Edition.New York: Longman.
Dewey, John.(1950). How we Think. Lexington D.C.: Heath and Company.
Ennis, R .H. (1985). A logical basis for measuring critical thinking skill. Educational Leadership, 43(2), 44-48.
Harkins, A. M. (2008). Leapfrog principles and practices: Core components of education 3.0 and 4.0. Futures Research Quarterly, 24(1), 19-31.
Conklin, W. (2013). Higher-Order Thinking Skills. CA: Shell Educational Publishing, Inc.
Torrance, E.P. (1962). Guiding Creative Talent. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall, Inc.