การจัดการสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้วยการทบทวนแนวคิดทฤษฎีจากเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐ 2) วิธีการพัฒนาระบบสมรรถนะ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผลการศึกษาพบว่า
1. รูปแบบสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐ ได้กำหนดให้มีตัวแบบสมรรถนะ 2 ส่วน คือ (1) สมรรถนะหลัก และ (2) สมรรถนะประจำตำแหน่งงาน โดยทั้ง 2 ส่วน
ได้กำหนดให้ใช้สมรรถนะตามเกณฑ์ที่สำนักงานข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และสมรรถนะที่สอดคล้องกับพันธกิจหลักของหน่วยงานและลักษณะงานที่ปฏิบัติ
2. วิธีการพัฒนาระบบสมรรถนะ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ การเปิดตัวโครงการพัฒนาระบบสมรรถนะ ศึกษารวบรวมข้อมูลปัจจุบันขององค์กร การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบสมรรถนะ การให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาระบบสมรรถนะ การรวบรวมและจัดทำคู่มือสมรรถนะ และการสื่อสารและการประเมินสมรรถนะ ส่งผลให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรศิรักษ์ ชูเสียงแจ้ว และศิริพงศ์ รักใหม่. (2563). สมรรถนะและคุณภาพการบริการของพนักงานทำความสะอาดห้องพัก: กรณีศึกษา โรงแรมในจังหวัดตรัง. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี,13(2), 167-183.
กัญญาฏา พวงมะลิ. (2556). สมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานวิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
เกื้อ วงศ์บุญสิน. (2538). ประชากรกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกรียงศักดิ์ เตจ๊ะวงค์. (2553) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักทางหลวงชนบทที่ 10 (เชียงใหม่) (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
การประปานครหลวง. (2555).รายงานประจำปี 2555. กรุงเทพฯ: การประปานครหลวง.
คนึงนิจ อนุโรจน์. (29 พฤษภาคม 2557). แนวทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2565, จาก www.gotoknow.com
เทื้อน ทองแก้ว. (2550). สมรรถนะ (Competency): หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
นภดล เหลืองภิรมย์. (2550). การจัดการนวัตกรรม: การพัฒนาตัวแบบความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักวิจัย (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ดวงรำไพ งามศัพท์. (2559). การศึกษาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามการรับรู้ของผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(3), 67-76.
วนิดา เชียวงามดี. (2555). การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐโดยใชแนวคิดเรื่องสมรรถนะ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย, 32(1), 1-22.
วสุธิดา นักเกษม และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ .(2562). อิทธิพลของคุณลักษณะงานและบรรยากาศองค์การ ร่วมกับการรับรู้การสนับสนุน จากหัวหน้างานและองค์การ ผ่านผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ที่มีผลต่อ ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐ. Veridian E-Journal, 12(2), 383-408.
วศิณีย์ สิริบรรสพ. (2558). ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารมหาวิทยาลัยต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยา (การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยพะเยา.
วรรณรัตน์ ศรีกนก. (2553). การพัฒนากรอบสมรรถนะของบุคลากร วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก, 14(3),151-158.
ประจักษ์ ทรัพย์อุดม. (2550). แนวทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
ปฐมพงษ์ บำเริบ. (2563). ผลกระทบของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อมุมมองทางการตลาด. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1), 135-147.
พระธรรมปิฎก. (2539). การพัฒนาที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระธรรมปิฎก. (2543). ปฏิรูปการศึกษาการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง.
เพ็ชรี รูปะวิเชตร์. (2548). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากรองค์กรไทยด้วยการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง.
ไพฑูรย์ พงศะบุตร. (2544). พจนานุกรมฉบับที่ 27. กรุงเทพ: ไทยวัฒนาพานิช.
มณีรัตน์ ฉัตรอุทัย. (2551). การศึกษากรอบสมรรถนะและความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะของผู้ให้บริการห้องสมุดของสำนักหอสมุดกลาง. วารสารพระจอมเกล้าลาดกระบัง, 16(1),33-43.
สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์.
สมบูรณ์ ศรีสมานุวัตร. (2553). การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในองค์กรโดยอาศัยสมรรถนะ (Competency-based HRD).กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์.เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง สมรรถนะของข้าราชการ. กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
อุกฤษณ์ กาญจนเกตุ.(2543). การใช้ Competency ในการบริหารงานบุคคล. วารสารบริหารคน, 21 (2), 11-18.
Boam, R. and Sparrow, P. (1992). Designing and achieving Competency. Reading: McGraw-Hill.
Boyatzis, R.E. (1973). Testing for competence rather than for Intelligence. American Psychologist, 28(1), 1 – 14.
Boyatzis, R.E. (1975). A Competency model for human resource management specialists to be used in the delivery of the human resource management cycle. Boston: Mcber.
Boyatzis, R.E. (1982). Competence at work. San Francisco: Jossey-Bass.
Boyatzis, R.E. (1982).The Competence manager: A model for effective performance. New York: Wiley.
Boyatzis, R.E. (1987). Human motivation. New York: University of Cambridge.
Chan, C., et al. (2019). Students approach to develop in holistic competency: an adaption of the 3P model. Educational Psychology, 40 (5), 622–642.
Maaleki, A. (2018). The ARZESH competency model: Appraisal & development manager's competency model. London: Lambert Academic Publishing.
Mensah, A. (2019). Work sampling: Methodological advances and new applications. Human Factors and Ergonomics in Manufacturing & Service Industries, 20(1), 42–60.
Mogkaew, P. (2019). Construction of Dhammanamai Principles in Treatment of Thai Traditional Medicine of Prongmadaue Community, Muang District, Nakhonpathom Province. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 2(3), 45-58.
Nadaillac, A. (2003). Competency System. New York: McGraw-Hill.
Prahalad, C.K. and Hamel, G. (1990). The core competences of the corporation. Harvard Business Review,15(1), 78-89.
Rankin, C.(2002). Social Capital, Microfinance, and the Politics of Development. Feminist Economics, 8(1), 1-24.
Sachs, D. (2015). The Age of Sustainable Development. New York: Columbia University Press.
Schermerhorn, J., Hunt, J., and Osborn, R. (2000). Organizational Behavior. (7th ed.). New York: John Wiley & Sons.
Spencer, L.M. and Spencer, S.M., (1993). Competence at work: Model for superior performance. New York: Wiley.
Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. (3rd ed.). New York: Harper and Row.