อิทธิพลของความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่มีต่อความสำเร็จในอาชีพของผู้บริหารองค์การกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ชลบุรี

Main Article Content

อิสรีย์ บุญนรานุรักษ์
วรรณวิชนี ถนอมชาติ
วทัญญู สุวรรณเศรษฐ

บทคัดย่อ

อมตะซิตี้ชลบุรี กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจำนวนประชากรได้ 385 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เริ่มจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการจับสลากแบบไม่ใส่คืน และใช้การสุ่มตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามปลายปิดแบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้คือสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานในการทดสอบสมมติฐานโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และค่าความสัมพันธ์แบบถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน งานวิจัยนี้ได้รับแบบสอบถามคืนมาในสภาพสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาพบว่า ผู้บริหารองค์การมีรความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคในระดับมากที่สุด ความคิดสร้างสรรค์และความสำเร็จในอาชีพอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยพบว่า ยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ กล่าวคือ ความคิดสร้างสรรค์และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับความสำเร็จในอาชีพ โดยที่ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค และความคิดสร้างสรรค์ สามารถพยากรณ์ความสำเร็จในอาชีพ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถพยากรณ์ความสำเร็จในอาชีพได้ร้อยละ 56.4

Article Details

How to Cite
บุญนรานุรักษ์ อ., ถนอมชาติ ว., & สุวรรณเศรษฐ ว. (2022). อิทธิพลของความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่มีต่อความสำเร็จในอาชีพของผู้บริหารองค์การกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ชลบุรี. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 6(2), 489–503. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jeir/article/view/256751
บท
บทความวิจัย

References

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2561). รายงานประจำปี 2561 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://www.ieat.go.th

กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. (2551). ความคิดสร้างสรรค์และความสามารถในการเอาชนะอุปสรรคของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี. BU Academic review, 7(2), 9-21.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2548). การคิดเชิงวิเคราะห์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด: การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เพชรเกษมการพิมพ์.

ฉลอง สุนทรนนท์. (2558). ศิลปะสร้างสรรค์พัฒนา (EQ) เด็ก. กรุงเทพฯ: วาดศิลป์.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). เทคนิคการใช้คำถาม พัฒนาการคิด. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง.

ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล. (2546). บทวิพากษ์ลัทธิอำนาจเบ็ดเสร็จ ตามทัศนะนักปรัชญาสำนักเหตุผลนิยม: จุดเปลี่ยนเชิงรัฐศาสตร์จากระบบปรัชญาแบบปัญญานิยมสู่อำนาจนิยม. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 6(2), 103-111.

ทน เขตกัน. (2556). เทคนิคสอนศิลปะอย่างสร้างสรรค์ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: ธารอักษร.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ (2560). รัฐบาลแบบเปิด (Open goverment): แนวคิดและความท้าทายของการบริหารงานภาครัฐในยุคดิจิทัล. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 24(1), 41-62.

ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล. (2563). การตลาดดิจิทัล หลังโควิด-19. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2565, จาก https://www.thaiprint.org/2021/05/vol130/knowledge130-03/

นภดล คำเติม. (2545). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่า อุปสรรค การสนับสนุนจากครอบครัวกับความสำเร็จในวิชาชีพของหัวหน้าผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นรินทร์ สุทธิศักดิ์. (2550). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้านพลศึกษาของนักศึกษาในสถาบันการพลศึกษา (วิทยานิพนธ์การอุดมศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประทุมทิพย์ เกตุแก้ว. (2551). ความสัมพันธ์ระหวางการรับรู้คุณลักษณะงาน ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคกับความสุขในการทำงานของพยาบาลงานการพยาบาลผ่าตัด (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

พรทิพย์ นาคพงศ์พันธ์. (2551). ความฉลาดทางจริยธรรม ความฉลาดทางความคิดสร้างสรรค์และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่ส่งผลต่อความสำเร็จในอาชีพ (การศึกษาค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิณผกา พิณวานิช. (2549). ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคกับความสำเร็จในอาชีพของพนักงานบริษัทประกันภัย: ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนลแอสชัวรันส์ จำกัด (การศึกษาค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2554). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-base-learning). วารสารวิชาการ, 5(2), 11-17.

รักชนก แสวงกาญจน์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในอาชีพของผู้บริหารโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 6(1), 171-85.

ลวิตรา ผิวงาม. (2548). ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ เชาว์อารมณ์ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่มีผลต่อความสำเร็จในการประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วันวิสาข์ ฤทธิธาดา. (2549). ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคที่ส่งผลต่อความสำเร็จในอาชีพของพนักงานขาย: กรณีศึกษา พนักงานขายเครื่องถ่ายเอกสาร บริษัท ไทยฟูจิ

ชีร็อกซ์จำกัดในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิทยา นาควัชระ. (2557). เลี้ยงลูกให้เก่ง ดี มี สุข (IQ EQ MQ AQ) (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: Goodbook.

วิทยา นาควัชระ. (2544). อยู่อย่างสง่า. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

วุฒิเกียรติ เตชะมงคลาภิวัฒน์. (2561). โรบินสัน จัดหนัก 5 ปีทุ่ม 1.5 หมื่นล้านโหมตะวันออกลุยโอซเลอีคอมเมิร์ซ. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://mgronline.com/business/detail/ 9610000023048

ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. (2545). เทคนิคการสร้าง IQ EQ AQ: 3Q เพื่อความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: สถาบันสร้างสรรค์ศักยภาพสมองครีเอทีฟเบรน.

สุคนธ์ สินพานนท์. (2555). พัฒนาทักษะการคิดตามแนวปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

อัชรา เอิบสุขสิริ. (2556). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อารี พันธ์มณี. (2545). ฝึกคิดให้เป็น คิดให้สร้างสรรค์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ใยไหมเอดดูเคท.

อารี พันธ์มณี. (2557). ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Dubrin, A. J. (1990). Effecting business psychology (3rd ed). Englewood Cliffs, N. J.: Prentice-Hall.

Gattiker, U. E., & Larwood, L. (1986). Subjective career success: A studey of manager and support personnel. Journal of Business and Psychologym, 1, 78-94.

Guilford, J. P. (1967). The nature of human intelligence. New York: McGraw-Hill Book.

Harris L. C., & Ogbonna, E. (2006). Service sabotage: A study of antecedents and consequences. Journal of the Academy of Marketing Science, 34, 534-558.

Judge, T. A., et al. (1995). An empirical investigation of the predictors of executive career success. Personal Psychology, 48, 485-591.

Lau, V. P., & Shaffer, M. A. (1999). Career success: The effects of personality. Career Development international, 4(4), 225-231.

Melamed, T. (1995). Career success: The moderating effect of gender. Journal of Vocational Behavior, 47, 35-60.

Seibert, S. E., & Kraimer, M. L. (2001). The five-factor model of personality and carees success. Journal of Vocational Behavior, 58(1), 1-21.

Stoltz, P. G. (1997). Adversity quotient: Turning obstacles into opportunities. New York: John Wiley Son.

Walton, R. E. (1975). The diffusion of new work structures: Explaining why success didn’t take. Organizational Dynamics, 3(3), 2-22.