การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ในยุคดิจิทัลสู่องค์การแห่งการเรียนรู้

Main Article Content

เกตุชญา วงษ์เพิก

บทคัดย่อ

ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารการศึกษาเป็นความสามารถของผู้บริหารที่จะจูงใจให้บุคลากรของสถานศึกษาสามารถปฏิบัติกิจกรรมให้ลุล่วงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ซึ่งความสำคัญของผู้บริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วนั้น ในยุคปัจจุบันแบบภาวะผู้นำที่ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงคือภาวะผู้นำยุคดิจิทัล  มีความจำเป็นที่จะต้องกระตุ้น จูงใจและเอื้ออำนวยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยผู้บริหารการศึกษาต้องมีกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ ที่เป็นการส่งเสริมให้เกิดองค์การแห่งการเรียนรู้ คือ 1) การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในด้านการสื่อสาร การจัดการเรียนการสอน 2) การพัฒนาความสามารถใหม่ๆ 3) การพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ 4) การสร้างและการปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ สิ่งสำคัญผู้บริหารการศึกษาต้องพัฒนาบุคลากรให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ยุคดิจิทัล โดยเข้าใจขีดความสามารถของเทคโนโลยี และการนำมาใช้ โดยการส่งเสริมสนับสนุนทุกรูปแบบ เพื่อนำไปสู่การบริหารสถานศึกษาสู่ความสำเร็จ นั่นคือคุณภาพการศึกษา

Article Details

How to Cite
วงษ์เพิก เ. (2021). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ในยุคดิจิทัลสู่องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 5(2), 467–478. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jeir/article/view/251086
บท
บทความวิชาการ

References

ชีวิน อ่อนละออ และคณะ. (2563) ภาวะผู้นำยุคดิจิทัล สำหรับนักบริหารการศึกษา. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 10(1), 108-119.

ณัฐวุฒิ พงศ์สิริ. (2560 ). ผู้นำที่เรียกว่า Digital Leader ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. HR Society Magazine, 15, 172, 20-23.

ธีระ รุญเจริญ. (2557). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

ลือชัย จันทร์โป๊. (2546 ). รูปแบบการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนอาชีวศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย(วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 38-50.

วิโรจน์ สารัตถะ. (2544). โรงเรียน: องค์การแห่งการเรียนรู้ กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษราการพิมพ์.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2560). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุรพงศ์ เอื้อศิริพรฤทธิ์. (2548). การพัฒนาตัวบ่งชี้ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดภาคใต้(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โสมวลี ชยามฤต. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับยุคดิจิทัลขององค์การภาครัฐและเอกชน.

Dubrin, A.J. (1998 ). Leadership Research. New York: Houghton Mifflin.

Kahintapongs, S. (2020). Renewable Energy Policy Development in Thailand. International Journal of Multidisciplinary in Management and Tourism, 4(2), 148-155.

Marquardt, M. & Reynolds. (1994).The global learning organization. New York: Irwin.

Sieber, S., Kagner, E ., & Zamora,J.(2013 ). How to be digital leader. Retrieved December 24, 2013. From http:// www.forber.com/sites/iese/2013/08/23/how to be a digital leader/

Sergiovanni, T. (1992) Educational Governance and Administration. Massachusetts: Allyn & Bacon.

Watkins, K.E. & Marsick, V.J. (1992). Building the Learning Organization: A New Role for Human Resource Developers. Studies in Continuing Education, 14(2), 115-129.