การบริหารจัดการตามหลักอิทธิบาท 4 สำหรับการให้บริการผู้ป่วย ตามแนววิถีใหม่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

Main Article Content

วันวิสาข์ สนใจ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นการนำเสนอแนวคิดการบริหารจัดการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับการให้บริการผู้ป่วยตามแนววิถีใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นหลังวิกฤตไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้หลักอิทธิบาท 4 ประกอบด้วย 1) ฉันทะ (aspiration) 2) วิริยะ (exertion) 3) จิตตะ (thoughtfulness) 4) วิมังสา (investigation) ใช้แนวคิดการบริหารจัดการของอองริ ฟาโยล ประกอบด้วย  5 ประการ ได้แก่ Planning (การวางแผน) Organizing (การจัดระบบในองค์กร) Commanding (การบังคับบัญชาสั่งการแบ่งบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ) Coordination (การประสานงานส่งต่อ) และ Controlling  (การควบคุมกำกับติดตามในองค์กร)

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการแพทย์. (2563). แนวทางปฏิบัติการรักษาทางทันตกรรมในสถานการณ์ COVID – 19. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563, จาก https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_File/Covid_Health/ Attach/25630518154838PM_ประกาศ Dental%20COVID19.pdf

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุในสถานการณ์การระบาด. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563, จาก anamai.moph.go.th/download/2563/Covid_19/people/

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุข เพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

จงกลนี ตุ้ยเจริญ และคณะ. (2563). การรับมือกับไวรัสโคโรนา Covid – 19 ในงานสาธารณสุขมูลฐาน.วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, 4(3), 12-20.

นิศารัตน์ วิเชียรศรี. (20 ธันวาคม 2563). COVID-19 : สธ.ใช้วิกฤตโควิด-19 จัดบริการการแพทย์แบบวิถีใหม่ลดแออัดในโรงพยาบาล. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563, จาก https://www.infoquest.co.th/ news/2020-315d09c1532cbdbbb054eaf87842cf6d

ปิ่นมณี ขวัญเมือง. (2557). หลักอิทธิบาท 4 เส้นทางสู่ความสำเร็จ. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 13(3), 26-28.

พระมหาสุวิทย์ สิริวฑฺโน (พรหมเกิด). (2553). การบริหารงานตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระสุธีวรญาณ (ณรงค์ จิตฺตโสภโณ). (2552). คู่มือปฏิบัติธรรมวันพระและวันอาทิตย์ วัดมหาพฤฒาราม. กรุงเทพฯ: เอพริ้นท์ แอนด์ แพ็ค.

พระโกศัยเจติยารักษ์ และอัมพร หงส์เจ็ด. (2558). การประยุกต์ใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร วิทยาเขตแพร่, 1(1), 53-58.

มาลี บุญศิริพันธ์. (6 พฤษภาคม 2563). รู้จัก “ New Normal” ฉบับราชบัณฑิตยสภา. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/292126

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิพย์วิสุทธิ์.

สำนักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์. (2562). คู่มือการบริหารจัดการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.นนทบุรี: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2562). คู่มือแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. นนทบุรี: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

สุชาติ อนันตะ. (2563). การบริหารจัดการภายในองค์กรกับการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดยะลา. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งประเทศไทย, 2(2), 35-46.

สุภาภรณ์ พรหมบุตร. (20 กรกฎาคม 2563). New Normal กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563, จาก https://dsp.dip.go.th/th/categery/2017-11-27-04-02/2020-06-29-14-39-49

Fayol, H. (1930). Industrial and General Administration. New York: Mc-Grew Hill.