พุทธญาณวิทยาตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท

Main Article Content

สรวิชญ์ วงษ์สอาด
อุทัย สติมั่น

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์เรื่อง “พุทธญาณวิทยาตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท” พบว่า พุทธญาณวิทยาตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท ดังนี้ คือ (1) ความรู้ขั้นที่เปิดเผยเฉพาะลักษณะภายนอกเท่านั้น (2) เป็นความรู้ที่เนื่องด้วยความรู้สึก และเจตนคติที่มีอยู่แล้ว (3) เป็นความรู้ขั้นสมมติบัญญัติ และขั้นโลกียะเท่านั้น (4) ไม่สามารถรู้แจ้งความจริงแท้โดยตลอดได้ (5) ก่อให้เกิดความหลง และไม่เข้าใจในมายาการของโลกภายนอก จัดว่า เป็นความรู้ที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง 4 ประการ ได้แก่ (1) ความรู้ที่นำไปสู่ความจริงขั้นสมมติสัจจะ (2) ความรู้ที่นำไปสู่ความจริงชั้นสภาวสัจจะ (3) ความรู้ที่นำไปสู่ความจริงขั้นอริยสัจจะ (4) ความรู้ที่นำไปสู่ความจริงขั้นปรมัตถสัจจะ  เป็นองค์แห่งความรู้ที่ทำหน้าที่การความไม่รู้ให้สิ้นไปมี 2 ประเภท คือ (1) ความรู้บริสุทธิ์หรือการรับรู้บริสุทธิ์ (วิสุทธิวิชชา) (2) ความรู้ซึ่งปราศจากความจริงที่ปรากฏขึ้นเฉพาะหน้า (อวิชชาหรือสัจจวีตวิชชา) พุทธปรัชญาเถรวาท ยอมรับว่า เป็นการทำลายอวิชชาหรือกิเลสโดยตรงว่า ความรู้ชั้นวิญญาณ และสัญญา เป็นปัจจัยสำคัญในการรับความรู้ ที่ช่วยให้มนุษย์ได้เข้าถึงความจริงมากขึ้น เพราะพุทธปรัชญาเถรวาทไม่ปฏิเสธความจริงในชั้นสมมติสัจจะ แต่ก็ไม่ถือว่า เป็นที่สุดของความรู้ ที่พุทธปรัชญาเถรวาทยกย่องและถือเป็นเป้าหมายสูงสุด คือ ความจริงในชั้นปรมัตถสัจจะ เพราะความจริงในระดับนี้ เป็นความจริงที่สิ้นสุด และหมดจด เป็นความจริงที่ตรงตามสภาพความเป็นจริงที่ถูกรู้ จากสภาพตามความเป็นจริงของสิ่งต่างๆ ถือว่า เป็นความรู้บริสุทธิ์ปราศจากกิเลส พ้นจากความทุกข์ สามารถเข้าถึงเป้าหมายสูงสุดที่แท้จริงได้นั้นเอง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2528). ญาณวิทยา. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์.
บุญมี แท่นแก้ว. (2540). พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ หจก. เม็ดทราย พริ้นติ้ง.
ประยงค์ แสนบุราณ. (2547). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2541). จาริกบุญ จารึกธรรม. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์สวย จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส.อาร์. พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พุทธธรรม ฉบับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสมภาร สมภาโร. (2547). ธรรมะปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก จำกัด.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). อิทัปปัจจยตา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ตถาตา พับลิเคชั่น จำกัด.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (2539).
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ. 2500. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2532). อรรถกถาภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาติเยอ ริการ์และตริน ซวน ตวน. (2554). ควอนตัมกับดอกบัว. กุลศิริ เจริญศุภกุล และบัญชา ธนบุญสมบัติ (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ–ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.
ศรัณย์ วงศ์คำจันทร์. ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : ศิลปบรรณาคาร. ม.ป.ป.
สนิท ศรีสำแดง. (2544). ปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2538). “กาลและอวกาศในพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุจิตรา รมรื่น. รศ.. (2540). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: อักษราพิพัฒน์.
สุนทร ณ รังษี. (2550). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทร ณ รังสี. (2521). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร : บพิธการพิมพ์.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2540). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.
Christopher Bartley. An Introduction to Indian Philosophy. Chennai : Replika Press Pvt Ltd.. (2011)
David J. Kalupahana. (1977). Buddhist Philosophy: A Histerical Analysis. 2 nd Printing. Honolulu: the University Press of Hawii.
Ediriwira Sarachchndra. (1994). Buddhist Psychology of Perception. Dehiwala: Buddhist Cultural Centre.
K.N.Jayatilleke. (1975). The Message of the Buddha. ed. by Ninian Smart. London : Allen & Unwin Ltd.
Lama Anagarika Govinda. (1991). The Psychological Attitude of Early Buddhist Philosophy. Delhi : Motilal Banarsidass Publishers.
Ludwig Wittgenstein. (1972). On Certainty. trans. by G.E.M. Anscombe and Denis Paul. New York: Harper Torchbook.
Moore. G.E. (1969). Philosophical Studies. London: Arthur Barker Ltd.
Timothy Ferris. (1991). “Unified Theories of Physics”. The World Treasury of Physics. Astronomy and Metaphysics. Ed. by Thimothy Ferris. New York: Little Brown and Company Limited.