พุทธบริหารการศึกษา: แนวคิดทฤษฎีและการบูรณาการ

Main Article Content

สิน งามประโคน

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องพุทธบริหารการศึกษา : แนวคิดทฤษฎีและการบูรณาการ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการบริหารการศึกษา 2) เพื่อศึกษาหลักการบริหารการศึกษาตามหลักพุทธธรรม 3) เพื่อบูรณาการหลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษาตามหลักพุทธธรรม


              ผลการศึกษา พบว่า แนวคิด และทฤษฎี การบริหารการศึกษาตามหลักพุทธธรรมสามารถบูรณาการได้ทั้ง 4 หลักการบริหาร ได้ดังนี้ (1) การบริหารงานวิชากาบูรณาการกับหลักพุทธธรรม คือ ไตรสิกขา อริยสัจ 4 ขันธ์ 5 ไตรลักษณ์ สติปัฏฐาน 4 จริต 6 เเละพุทธวิธีการสอน 2) การบริหารงานบุคคลบูรณาการกับหลักพุทธธรรม คือ อธิปไตย และพละ 5 โดยใช้หลักการให้รางวัลและวิธีสนทนาเพื่อพัฒนาบุคลากร (3) หลักการบริหารงานงบประมาณ พระพุทธองค์ได้วางหลักเกณฑ์ไว้ว่า ต้องสีการวางแผนการเงิน ขยันหา คบคนดี และประกอบอาชีสุจริต บูรณาการกับ สุจริต 3 ทิฎฐธัมมิกัตถสัตตนิกธรรม และ (4) การบริหารงานทั่วไป เป็นการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำงานบูรณาการกับหลักกัลยาณมิตรธรรม 7 พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมล ภู่ประเสริฐ. (2547). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เสริมสิน
พรีเพรส ซิสเท็ม.
โกวิทย์ พวงงาม. (2547). คู่มือ มิติใหม่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เสมาธรรม.
จันทรานี สงวนนาม. (2551). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.
จินตนา กิ่งแก้ว. (2548). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสภาพแวดล้อมของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาลัยเขตจันทบุรี(วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณรงค สัจพันโรจน. (2539). การจัดทำอนุมัติและการบริหารงานงบประมาณแผนดินทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ.
บรรยง โตจินดา. (2546). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
ปัญญา แก้วกียูร และสุภัทร พันธ์พัฒนกุล. (2545). การบริหารจัดการศึกษาในรูปแบบการใช้โรงเรียนหรือเขตพื้นที่การศึกษาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานปฏิรูปการศึกษา.
ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2552). การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน. http://srithai.hypermart.net /environment.html>.01
ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2547). การบริหารการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สมนึก เอื้อจิระพงษพันธ. (2539). การบัญชีตนทุน แนวคิดและการประยุกตเพื่อการตัดสินใจเชิงการบริหาร. กรุงเทพฯ: สยามเตชั่นเนอรี่ซัพพลายส.
สมศักดิ์ บุญปู่. (2558). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.สัมภาษณ์, 10 กันยายน.
สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย. (2538). ศัพทบัญชี. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง.
สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2545). แผนพัฒนาการศึกษาเอกชนฉบับที่9 (พ.ศ. 2545 – 2549). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย. (2558). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สัมภาษณ์, 10
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2547). หน่วยที่ 7 ปัญหาและแนวโน้มเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ บริหารการศึกษา. ในประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาปัญหาและแนวโน้มทางการบริหารการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เสาวนิตย์ ชัยมุสิก. (2542). การบริหารโรงเรียนเป็นฐานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ:
บุคพอยท์.
อรชร โพธิสุข และคณะ. (2545) เอกสารการสอนการบัญชีตนทุนและการบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.