มโนทัศน์เรื่องการบนบานกับสุขภาพและความเจ็บป่วย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับมโนทัศน์ของการบนบาน พิธีตามคติความเชื่อดั้งเดิมที่ถูกนำมาใช้ในระบบสุขภาพ โดยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และสรุปผลการศึกษาแสดงความเกี่ยวข้องของการบนบานที่มีอิทธิพลต่อระบบสุขภาพและบุคคลที่อยู่ในภาวะเจ็บป่วย ผลการศึกษาพบว่า การบนบานเป็นกิจกรรมที่พบได้ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย เป็นพิธีการร้องขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้ตนสมปรารถนา โดยมีข้อตกลงสัญญามาเป็นสิ่งแลกเปลี่ยน มีความสัมพันธ์กับระบบสุขภาพในลักษณะของการแสวงหาที่พึ่งทางจิตใจ และการสร้างแรงจูงใจในการแสดงออกถึงพฤติกรรมทางสุขภาพ ประชาชนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพได้ หากไม่ขัดต่อผลของการรักษา กฎหมาย และศีลธรรม และยังส่งผลต่อสุขภาพที่ดีของผู้ป่วยอีกด้วย
Article Details
References
กิตติพงษ์ พลทิพย์. (2257). ภูมิปัญญาพื้นบ้านอีสานในการบำบัดรักษาผู้ติดสุรา: กรณีศึกษาตำบล
หนองบัว อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด (วิทยานิพนธ์หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
จุรีรัตน์ บัวแก้ว.(2559). เจ้าบ่าวน้อย: วีรบุรุษชุมชนท้องถิ่น.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 11 (2), 175-187.
ถนอม บุญประจง, ฉลอง พันธ์จันทร์ และธีระพงษ์ มีไธสง. (2562). ความทรงจำพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์กับประเพณีประดิษฐ์ของชุมชน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนาในเขตพื้นที่อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ จังหวัดบุรีรัมย์ กรณีศึกษา: ปรางค์กู่สวนแตง และกู่ฤาษี. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9 (3), 69-95.
ปัญญา เทพสิงห์.(2562). ลักษณะวิธีอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนชาวพุทธตำบลหน้าถ้ำ จังหวัดยะลา.วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27 (53),23-46.
พนาสินธุ์ ศรีวิเศษ.(2562). ดนตรีประกอบพิธีกรรมสะเองของกลุ่มชาติพันธุ์กูยในเขตอีสานตอนใต้ของไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 11 (1), 83-98.
พระครูสิริรัตนานุวัตร.(2558). อิทธิพลการบนบาน บวงสรวงในสังคมไทย.วารสารกระแสวัฒนธรรม, 16(29),19-29.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒนาอินเตอร์พรินท์.
วีรยุทธ เลิศพลสถิต. (2559). ความต่างในความเหมือนของพิธีกรรมบูชาพระธาตุสองฝั่งโขง.วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,8 (2), 22-43.
วุฒิกนก วังโน และอุบลรัตน์ ดีพร้อม.(2548).การใช้การแพทย์ทางเลือกของผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่แผนกอายุกรรมในจังหวัดสุรินทร์”.วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ, 20(3), 75-84.
สืบศักดิ์ สิริมงคลกาล.(2559). จิตรกรรมสีน้ำสร้างสรรค์ชุดอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี พื้นที่ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและศิลปวัฒนธรรม ในจังหวัดนครราชสีมา.วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17 (2), 113-125.
สุปาณี เสนาดิสัย และวรรณภา ประไพพานิช. (2560).การพยาบาลพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: จุดทอง.
อธิราชย์ นันขันตี.(2561). พลวัตการนับถือผีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวบ้านเนินสะอาดในบริบทสังคมสมัยใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 8 (2), 97-106.
อนันตศักดิ์ แก้วพลเกษ. (2559). การศึกษาตัวบทและบทบาทหน้าที่ของศาลปู่ตา อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19 (4), 1-11.
อนุชสรา เรืองมาก. (2559). ขอได้ไหว้รับ: ไอ้ไข่ วัดเจดีย์.สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์,16 (1), 29-54.