ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม: การขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ

Main Article Content

อภิรักษ์ บุปผาชื่น

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีตัวแปรใหม่ ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้และมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อองค์กรต่าง ๆ ไม่เว้นแม้กระทั่งองค์กรที่เคยประสบความสำเร็จมาแล้ว ในขณะเดียวกันหากมองในมุมกลับการเปลี่ยนแปลงนี้ก็สร้างโอกาสใหม่ ๆ ทั้งในระดับองค์กรและระดับบุคคลที่ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนมุมมอง ทัศนคติ และช่วยให้องค์กรต่าง ๆ มองหานวัตกรรมสิ่งใหม่ ๆ ที่ทันสมัยและดีมากขึ้นกว่าเดิมมาขับเคลื่อนองค์กร เพราะฉะนั้นการสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในองค์กรจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะต้องใช้ทั้งเทคนิคในการบริหารจัดการ(Management) ความเป็นผู้นำ (Leadership) ให้เกิดการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม สู่ "ผู้นำเชิงนวัตกรรม(Innovative Leadership) ในรูปแบบใหม่ ๆ ตลอดเวลา เพื่อนำพาองค์กรสู่ความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงและเท่าทันต่อโลกภายนอกได้ ดังนั้นภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์นวัตกรรมจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่อนาคต รวมถึงบรรลุเป้าหมายที่สูงขึ้นขององค์กรอีกด้วย

Article Details

How to Cite
บุปผาชื่น อ. (2020). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม: การขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 4(3), 205–216. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jeir/article/view/247139
บท
บทความวิชาการ

References

กิจฎามาศ วังปรีชา. (2559). S-curve เส้นทางสู่ความสำเร็จของนวัตกรรม. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2563: จาก https://kitdamassite.wordpress.com/author/kitdamas9/
กิตติกาญจน์ ปฏิพันธ์, จักรกฤษณ์ โพดาดล, และวิลัยพรณ์ เสรีวัฒน์. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์:สิ่งที่ควรค่าสำหรับทุกคนในอนาคต. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ไชยณพล อัครศุภเศรษฐ์. (2550). การสร้างสรรค์นวัตการ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
ฐานเศรษฐกิจ. (2562). คอลัมน์ เอชอาร์ 4.0 อะไร คือ "สิ่งจำเป็น" ของ "ผู้นำเชิงนวัตกรรม". สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2563, จาก https://slingshot.co.th/resources/articles/
นิตย์ สัมมาพันธ์. (2548). ภาวะผู้นำ: พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิกส์.
พินิจ โคตะการ. (2559). ผู้นำและภาวะผู้นำกับความสำเร็จขององค์การ. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน2563,จาก http://phinit0112.blogspot.com/2016/02/
วสันต์ สุทธาวาศ. (2557). ภาวะผู้นำสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม: Leadership for Innovation. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2563, จาก http://www.edsiam.com/%e0%b8
สมพงษ์ สุวรรณจิตกุล. (2552). องค์กรแห่งการสร้างนวัตกรรม : องค์กรชั้นนำต่างๆ เปลี่ยนแปลงตัวเองได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: เอเอสทีวีผู้จัดการ.
Adjei, D. (2013). Innovation leadership management. International Journal of ICT and Management, 1, pp. 103-106.
Loader, A. (n.d.). Why should you show innovative leadership? สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2563,จาก https://blog.castle.co/innovative-leadership.
Tada, R. (2019). POLC - ทฤษฎีการจัดการที่สร้างประสิทธิภาพให้กับองค์กร. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2563, จาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190619-polc-management-concept/.