การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสังคมปัจจุบัน

Main Article Content

ฉัตรชัย นาถ่ำพลอย

บทคัดย่อ

บทความนี้ มุ่งนำเสนอและทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ในแง่มุมต่างๆ ได้แก่ ความหมาย ความเป็นมาของการบริหาร แนวคิด ลักษณะ การวัดผลประมินผลหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการบริหาร โดยเฉพาะความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ แล้วนำมาปรับใช้เพื่อเป็นกลไกในการสร้างความสำเร็จในการบริหารขององค์กรนั้นๆ โดยคำนึงถึงหลักความคุ้มค่า ในแง่มุมของด้านปัจจัยนำเข้า คือ นโนบาย บุคลากร งบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ ด้านกระบวนการ คือ การวางแผนดำเนินงาน การบริหารจัดการ การมุ่งผลสัมฤทธิ์และการติดตามประเมินผล ด้านผลผลิต คือ การประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน ด้านข้อมูลย้อนกลับและด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อนำมาปรับใช้ประยุกต์ในการบริหารองค์กรให้เป็นระบบของการจัดการที่ดีในอนาคตต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กิตติ บุญนาค. (2449). ยุทธศาสตร์การบริการการพัฒนาองค์การสมัยใหม่ โดยการใช้กระบวนการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
ทวีสันต์ วิชัยวงษ์ และ สัญญา เคณาภูมิ. (2562). การบริหารราชการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. Journal of Buddhist Education and Research, 5(2), 34-51.
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2543). การบริหารผลการดำเนินงาน: รวมบทความวิชาการ 100 ปี
รัฐประศาสนศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2539). การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
ปิยะชัย จันทรวงษ์ ไพศาล. (2554). การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือโกสินทร์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: กองพิมพ์หนังสือเป็นธรรมทาน.
สุพจน์ ทรายแก้ว. (2545). การจัดการรัฐแนวใหม่. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bacal, R. (1999). Performance Management. New York: McGraw-Hill.
Canadian International Development Agency. (1999). Results Based Management in CIDA: An Introductory Guide to Concept and Principles. New York: John Wiley and Sons.
Katz, D. & Kahn, R.L. (1978). The Social Psychology of Orga-Nizations. (2nd ed.). New York: Wiley.